220 likes | 497 Views
ชื่อ : นางสาวศิริพร พ่วงพิศ : โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย จังหวัดกรุงเทพฯ ชื่อ : นายจิรพันธุ์ ศรีสมพันธุ์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาล โดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหา ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต.
E N D
ชื่อ : นางสาวศิริพร พ่วงพิศ : โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย จังหวัดกรุงเทพฯ ชื่อ : นายจิรพันธุ์ ศรีสมพันธุ์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลโดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหา ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ปีที่วิจัย : 2552
ความเป็นมาของปัญหา • นักเรียนในห้องมีจำนวนมากเกินไป • เนื้อหาในรายวิชามีรายละเอียดมาก • ผลการเรียนของนักเรียนในรายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วย ภาษาปาสคาลอยู่ในระดับต่ำ ผลของคะแนนในภาคการศึกษา 1/ 2551
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย • เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลโดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังจากเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลโดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • เพื่อหาความพึงพอใจต่อการใช้งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลโดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต Company Logo
สมมติการวิจัย • บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลโดยใช้ทฤษฎีการคิด แก้ปัญหาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน E1/E2 เท่ากับ 80/80 • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังจากเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการเขียน โปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลโดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสูงกว่าก่อนเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่สร้างขึ้น อย่างมีนัยสำคัญที่ ระดับ .05 • ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการเขียนโปรแกรม ด้วยภาษาปาสคาลโดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับมาก
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามแนวทฤษฎีการคิดแก้ปัญหา เรื่องการเขียนโปรแกรมชุดคำสั่งด้วยปาสคาล • เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและได้พัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ www.themegallery.com Company Logo
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • การพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน พ.ศ. 2541 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (มานพ :2544) • การสร้างและทดลองหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล ในวิชาวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิภาภรณ์ 2541) • วิธีการแก้ปัญหาคำถามแบบเปิดในห้องเรียนของจีน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา (Limming :1997) • การวิเคราะห์แนวคิดแก้ปัญหาวิชาเคมี โดยใช้แบบทดสอบวัดแนวคิดแก้ปัญหา(Kempa :2002 ) • ขั้นตอนและวิธิการคิดแก้ปัญหา(Poya :1957 )
วิธีดำเนินการวิจัย Company Logo
ศึกษาข้อมูลและหลักสูตรรายวิชาศึกษาข้อมูลและหลักสูตรรายวิชา • ศึกษาหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วย ภาษาปาสคาล • ศึกษาหลักการและขั้นตอนการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • ศึกษาระบบจัดการเรียนการสอน ได้แก่ Learnsquar • ศึกษาเครื่องมือสำหรับสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต www.themegallery.com Company Logo
สังเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ทฤษฎีการแก้ปัญหาสังเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ทฤษฎีการแก้ปัญหา โจทย์ปัญหาที่เน้น กระบวนการคิดแก้ปัญหา ทำความเข้าใจกับปัญหา โจทย์ปัญหา การหาข้อมูลหรือศึกษา จากแหล่งข้อมูล บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เนื้อหา/ องค์ความรู้ ระบบสนับสนุนการเรียนการสอน (กระดานข่าวและเวบบอร์ด) ดำเนินการแก้ปัญหา ข้อสรุปโจทย์ปัญหา เกณฑ์ประเมิน การแก้โจทย์ปัญหา การประเมินผล
วิธีดำเนินการวิจัย ผู้สอน นักเรียน สร้างโจทย์ปัญหาที่เน้นการคิดแก้ปัญหา ทำแบบฝึกหัด การคิดแก้ปัญหา ศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ดำเนินการคิดแก้ปัญหา สังเกตการดำเนินการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน ส่งครูผู้สอนเพื่อทำการประเมิน ประเมินจากการทำ แบบฝึกการคิดแก้ปัญหา
การดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลการดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล • การเข้าสู่การเรียนด้วยเว็บช่วยสอน วิชา การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลโดยให้ผู้เรียนสมัครเข้าเรียนและทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pretest)
การดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลการดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล • นักเรียนทำโจทย์การคิดแก้ปัญหา และศึกษาจากเว็บช่วยสอนที่สร้างขึ้น
หลังศึกษาทุกหน่วยจบ จึงให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest)
ตัวอย่างแบบฝึกการแก้ปัญหาตัวอย่างแบบฝึกการแก้ปัญหา
ตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • แบบฝึกทบทวนระหว่างเรียน
ตัวอย่างระบบสนับสนุนการเรียนการสอนตัวอย่างระบบสนับสนุนการเรียนการสอน
ผลการหาประสิทธิภาพของเว็บช่วยสอน ( E1/E2 : 80/80 ) • ผลคะแนนการทำแบบทดสอบระหว่างเรียนและแบบฝึกหัดการคิดแก้ปัญหา คะแนนการทำแบบทดสอบระหว่างเรียนและแบบฝึกหัดการคิดแก้ปัญหา(E1)= 82.79 • ผลคะแนนแบบทดสอบหลังเรียน คะแนนการทำแบบทดสอบหลังเรียน(E2)= 80.38
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยเว็บช่วยสอนผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยเว็บช่วยสอน ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, df = 49 • เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนและก่อนเรียน ด้วยสถิติค่าที (t-test) เมื่อพิจารณาค่า tคำนวณ (18.72) มากกว่า tตาราง (1.677) แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การเขียนโปรแกรมด้วย ภาษาปาสคาล โดยใช้ทฤษฎีการแก้ปัญหาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุปผลความพึงพอใจ • แสดงว่าผลการประเมินหาความพึงพอใจของผู้เรียนอยู่ในระดับมาก
อภิปรายผล • ด้านการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหาผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เมื่อคิดจาก คะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบระหว่างบทเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน • ที่ผู้เรียนทำได้ มีค่า 82.79/ 80.38 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ • ด้านการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังเรียนด้วย บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้ทฤษฎีการคิด แก้ปัญหาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่พัฒนาขึ้นจากการวิจัย พบว่าคะแนนของ แบบทดสอบก่อนบทเรียน ซึ่งมีค่าร้อยละ 42.95 และคะแนนของแบบทดสอบระหว่าง บทเรียนของผู้เรียน ซึ่งมีค่าร้อยละ 80.38 ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 www.themegallery.com Company Logo
ข้อเสนอแนะ • ควรพัฒนาบทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้สามารถตรวจสอบ ผลการเขียนโปรแกรมผ่านเครือข่ายได้แบบออนไลน์ • ควรออกแบบบทเรียนให้มีกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เช่น การแบ่งกลุ่ม เพื่ออภิปรายและหาคำตอบจาก ข้อคำถามที่ครูกำหนดให้ • ควรศึกษารูปแบบการเรียนการสอนวิธีอื่น เพื่อเปรียบเทียบกับ วิธีการสอนแบบปกติ และเป็นแนวทางในการนำมาพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
ขอบคุณค่ะ! Company Logo