1 / 34

พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ. 2510

พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ. 2510. ให้แยกกฏหมายเกี่ยวกับภาษีป้ายออกจากประมวลรัษฎากร ในหมวดที่ 5 ภาษีป้าย ลักษณะ 2. 1. ป้ายที่ต้องเสียภาษี. - ป้ายที่แสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการ ประกอบการค้าหรือประกอบกิจการอื่น เพื่อหา รายได้ - หรือโฆษณาการค้า หรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้

Download Presentation

พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ. 2510

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ.2510 ให้แยกกฏหมายเกี่ยวกับภาษีป้ายออกจากประมวลรัษฎากร ในหมวดที่ 5 ภาษีป้าย ลักษณะ 2

  2. 1. ป้ายที่ต้องเสียภาษี - ป้ายที่แสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการ ประกอบการค้าหรือประกอบกิจการอื่น เพื่อหา รายได้ - หรือโฆษณาการค้า หรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้ - แสดงหรือโฆษณาไว้ที่วัตถุใด ๆ ดัวยอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึก หรือทำ ให้ปรากฎด้วยวิธีอื่น - ไม่เป็นป้ายที่ได้รับการยกเว้นภาษีป้าย

  3. 2. ป้ายที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี 1) ป้าย ณ บริเวณโรงมหรสพ 2) ป้ายที่สินค้าหรือที่สิ่งหุ้มห่อหรือบรรจุสินค้า 3) ป้ายในบริเวณงานที่จัดขึ้นเป็นครั้งคราว 4) ป้ายที่แสดงไว้ที่คนและสัตว์ 5) ป้ายภายในอาคารประกอบกิจการค้า (พ.ท. ไม่เกิน 3 ตร.ม.) 6) ป้ายของทางราชการ 7) ป้ายขององค์การที่ตั้งตามกฎหมายนั้นๆ และนำรายได้ส่งรัฐ 8) ป้ายของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธกส. ธอส. และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 9) ป้ายโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน

  4. ต่อ 10) ป้ายผู้ประกอบการเกษตรซึ่งค้าผลผลิตอันเกิดจากการเกษตรของตน 11) ป้ายของวัด หรือผู้ดำเนินการกิจการเพื่อประโยชน์แก่ศาสนา หรือ การกุศลสาธารณะโดยเฉพาะ 12) ป้ายของสมาคมหรือมูลนิธิ 13) ป้ายตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เช่น กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) (1) ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่รถยนต์ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ รถบดถนน หรือรถแทรกเตอร์ (2) ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่ล้อเลื่อนตามกฎหมายว่าด้วยล้อเลื่อน (3) ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่ยานพาหนะนอกเหนือ (1) และ (2) โดยมี พ.ท. ไม่เกิน 500 ตร.ซม.

  5. 3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย 1. เจ้าของป้าย 2. กรณีไม่มีผู้ยื่นแบบ / หาตัวเจ้าของป้ายไม่ได้ - ผู้ครอบครองป้ายเป็นผู้มีหน้าที่เสีย - ถ้าไม่อาจหาตัวผู้ครอบครองป้ายนั้นได้ เจ้าของ/ผู้ครอบครองอาคาร/ที่ดินที่ป้าย ติดตั้งอยู่เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามลำดับ

  6. คำถามที่ 1 บ. ซัพพลาย จำกัด ได้ก่อสร้างโครงป้ายเหล็กขึ้น นายศิริชัยจึงขอเช่าโครงป้ายดังกล่าว เพื่อแสดงป้ายโฆษณายี่ห้อโทรศัพท์ของตน ถามว่าใครเป็นเจ้าของป้ายตามความหมายของ พ.ร.บ. ภาษีป้ายฯ

  7. กรณีตามคำถามที่ 1 บ. ซัพพลาย จำกัด ถ้าเป็นเจ้าของโครงป้ายเหล็กขนาดใหญ่ ก็จะต้องชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน

  8. คำถามที่ 3 นาย Aเป็นเจ้าของอาคารได้ทำสัญญาให้นาย Bเช่าอาคาร นาย B จึงให้นาย Cเช่าพื้นที่บนอาคาร และนาย C ได้สร้างโครงป้ายเหล็ก ขึ้นเพื่อให้นาย Dเช่าโครงป้ายเพื่อโฆษณาการค้าของตน ขอให้เรียงลำดับผู้มีหน้าที่เสียภาษี?

  9. 4. ระยะเวลาการยื่นแบบฯ 1. เจ้าของป้ายต้องยื่นแบบ ภ.ป.1 ภายในเดือน มีนาคมชองทุกปี 2. ติดตั้งป้ายหลังมีนาคม / ติดตั้งป้ายใหม่แทน ป้ายเดิม / เปลี่ยนแปลงแก้ไขป้ายเป็นเหตุให้ ต้องเสียภาษีเพิ่มขึ้น ให้ยื่นแบบฯภายใน 15 วัน

  10. 5. คำนวณพื้นที่ อัตรา และภาษีป้าย 1. การคำนวณพื้นที่ป้าย ให้คำนวณเป็น ตร.ซม. 2. อัตราภาษี แบ่งเป็น 3 อัตรา 1) อักษรไทยล้วน 3 บาท/500 ตร.ซม. 2) อักษรไทยปนต่างประเทศ/ภาพและ/เครื่องหมาย อัตรา 20บาท/500 ตร.ซม. 3) ป้ายต่อไปนี้อัตรา 40 บาท/500 ตร.ซม. ก. ไม่มีอักษรไทย ข. อักษรไทยบางส่วน/ทั้งหมดอยู่ใต้/ต่ำกว่า อักษรต่างประเทศ

  11. ต่อ 4) เปลี่ยนแปลงแก้ไขพื้นที่ป้าย ข้อความ ภาพ หรือเครื่องหมาย บางส่วนในป้ายที่ได้เสียภาษีป้ายแล้วเป็นเหตุให้ต้องเสียภาษี ป้ายเพิ่มขึ้น ให้คิดอัตราตาม 1) 2)หรือ 3) แล้วแต่กรณี และ ให้เสียเฉพาะจำนวนเงินที่เพิ่มขึ้น 5) ป้ายตาม 1) 2)หรือ 3) เมื่อคำนวณพื้นที่ของป้ายแล้วถ้ามี อัตราที่ต้องเสียภาษีต่ำกว่าป้ายละ 200 บาท ให้เสียป้ายละ 200 บาท การคำนวณค่าภาษีให้คำนวณโดยนำพื้นที่ป้ายคูณด้วยอัตราภาษีป้าย เช่น ป้ายที่ต้องเสียภาษีมีพื้นที่ 10,000 ตร.ซม. เป็นป้ายประเภทที่ 2 ป้ายนี้เสียภาษีดังนี้ 10,000 / 500 X 20 = 400 บาท

  12. ตัวอย่างการคำนวณค่าภาษีป้ายตัวอย่างการคำนวณค่าภาษีป้าย การคำนวณค่าภาษี ให้คำนวณโดยนำพื้นทีป้ายคูณด้วยอัตรา ภาษีป้าย เช่น ป้ายกว้าง 3 เมตร = 3 x 100 = 300 ซม. ป้ายยาว 5 เมตร = 5 x 100 = 500 ซม. ดังนั้น พื้นที่ป้าย = 300 x 500 = 150,000 ตร.ซม. ***ถ้ามีเศษเกินกึ่งหนึ่งของห้าร้อยตารางเซนติเมตร ให้นับเป็นห้าร้อยตารางเซนติเมตร ถ้าไม่เกินกึ่งหนึ่งให้ปัดทิ้ง 150,000 = 300 X 40 = 12,000บาท 500

  13. วิธีการปัดเศษของพื้นที่ป้ายวิธีการปัดเศษของพื้นที่ป้าย = 2 พื้นที่ป้าย 1250 ตร.ซม. = 1,250 = 2.5 500 พื้นที่ป้าย 1251 ตร.ซม. = 1,251= 2.502 500 = 3 = 4 พื้นที่ป้าย 1800 ตร.ซม. = 1,800 = 3.6 500

  14. การคิดคำนวณค่าภาษี ป้ายที่ติดตั้งในปีแรก มกราคม - มีนาคม = 100 % เมษายน - มิถุนายน = 75 % กรกฎาคม - กันยายน = 50 % ตุลาคม - ธันวาคม = 25 %

  15. ตัวอย่างคิดอัตราภาษีประเภท ? ฉลองเปิดสาขาใหม่ www.Thaicarcare.com ล้าง อัด ฉีด ราคาพิเศษ 90 บาท

  16. ตัวอย่างประเภทที่ 2 ฉลองเปิดสาขาใหม่ ล้าง อัด ฉีด ราคาพิเศษ 90 บาท www.Thaicarcare.com

  17. 1. ตัวเลข คิดเป็นอัตราภาษีประเภทที่เท่าไร คำถาม 084-3160342

  18. สนใจโฆษณาติดต่อ TEL 084 - 3160342

  19. ลักษณะของป้ายที่แม้จะอยู่ในโครงเดียวกันลักษณะของป้ายที่แม้จะอยู่ในโครงเดียวกัน แต่สามารถแยกส่วนของป้ายออกจากกันได้

  20. 2. แถบสี ต้องคำนวณเป็นพื้นที่ต่อเนื่องกับตัวอักษรหรือไม่

  21. 3. แถบสี เป็นตัวแบ่งขอบเขตของป้ายหรือไม่

  22. 4. ป้ายไตรวิชั่น คิดเป็นกี่ป้าย และเป็นป้ายประเภทที่เท่าไร

  23. 5. ป้ายที่อยู่ในโครงเดียวกัน แต่มองเห็นได้หลายด้านคิดเป็นกี่ป้าย คำพิพากษาฎีกาที่ 1265/2519

  24. ป้ายที่อยู่ใต้กันสาดถือเป็นป้ายภายในอาคารหรือไม่ป้ายที่อยู่ใต้กันสาดถือเป็นป้ายภายในอาคารหรือไม่ ป้ายที่อยู่ใต้หลังคาบ้านเป็นป้ายภายในอาคารหรือไม่

  25. ข้อสังเกต 1. ไม่มีบัญญัติว่า ป้ายต้องมีลักษณะที่ยึดติดกับพื้นดินเท่านั้น 2. ไม่มีบัญญัติว่า ภาษีป้ายคิดตามระยะเวลาที่ติดตั้งป้าย 3. ไม่มีบัญญัติ เรื่องการลดหย่อนภาษีป้าย หรืองดภาษีป้าย 4. ภาษีป้ายเป็นภาษีที่จัดเก็บล่วงหน้า

  26. 6. เงินเพิ่ม ผู้เสียภาษีป้ายต้องเสียเงินเพิ่มในกรณีและอัตราดังนี้ 1) ไม่ยื่นแบบฯ ภายในกำหนดให้เสียเงินเพิ่ม 10% ของค่าภาษี เว้นแต่ก่อนที่ พนง.จนท. แจ้ง ให้เสียเงินเพิ่ม 5% ของค่าภาษีป้าย 2) ยื่นแบบฯ ไม่ถูกต้อง ทำให้เสียลดลง ให้เสียเงินเพิ่ม 10% ของ ภาษีที่ประเมินเพิ่มเติม เว้นแต่ได้มาแก้ไขแบบฯให้ถูกต้องก่อน พนง.จนท.แจ้งการประเมิน 3) ไม่ชำระภาษีภายในกำหนด ให้เสียเงินเพิ่ม 2% ต่อเดือนของ ค่าภาษีป้าย เศษของเดือนให้นับเป็นเดือน ทั้งนี้ ไม่ให้นำเงินเพิ่มตาม 1) และ 2) มาคำนวณเป็นเงินเพิ่มตามข้อนี้ด้วย

  27. 7. บทกำหนดโทษ 1) ผู้ใดแจ้งข้อความ ถ้อยคำ ตอบคำถามอันเป็นเท็จ /นำพยาน หลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยง/พยายามหลีกเลี่ยงการเสีย ภาษีป้าย โทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี/ปรับไม่เกิน 5,000 ถึง 50,000 บาท/ทั้งจำทั้งปรับ 2) ผู้ใดจงใจไม่ยื่นแบบฯ โทษปรับ 5,000 ถึง 50,000 บาท 3) ผู้ใดไม่แจ้งการรับโอนป้าย/ไม่แสดงรายการเสียภาษีป้ายไว้ที่ เปิดเผยในที่ประกอบการ โทษปรับ 1,000 ถึง 10,000 บาท 4) ผู้ใดขัดขวางการปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ซึ่งสั่งมาให้ถ้อยคำ /ให้ส่งบัญชี/เอกสารมาตรวจสอบภายในกำหนดอันสมควร โทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน/ปรับ 1,000 ถึง 20,000 บาท/ทั้งจำ ทั้งปรับ

  28. 7. บทกำหนดโทษ กระทำผิดตาม พ.ร.บ.นี้ ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ซึ่ง ผู้บริหารท้องถิ่นมอบหมาย มีอำนาจการเปรียบเทียบได้สถานเดียว ถ้าชำระเงินค่าปรับตามที่เปรียบเทียบภายใน 30 วัน คดีเลิกกันตาม ป.วิ อาญา ถ้าไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือไม่ชำระเงิน ค่าปรับตามกำหนด ให้ดำเนินคดีต่อไป

  29. 8. การอุทธรณ์การประเมินภาษี • เมื่อได้รับแจ้งการประเมิน (ภ.ป.3) แล้ว เห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้อง อุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่รับแจ้งการประเมิน • ผู้อุทธรณ์มีสิทธิอุทธรณ์คำวินิจฉัยของผู้บริหารท้องถิ่นต่อศาลภายใน 30 วัน นับแต่วันที่รับแจ้ง

  30. 9. การขอคืนเงินภาษีป้าย • ผู้ที่เสียภาษีป้ายโดยไม่มีหน้าที่ต้องเสีย / • เสียเกินที่ควรจะต้องเสีย • มีสิทธิขอคืนเงิน • ยื่นคำร้องขอคืนใน 1 ปี นับแต่วันที่เสีย

More Related