380 likes | 553 Views
ประเด็นการประชุม. กรอบแนวทางแผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค การกำกับ ติดตาม และประเมินผล ปีงบประมาณ 2555 ภารกิจที่ต้องดำเนินการ Service บุคลากร ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ระบบข้อมูล. กรอบแนวทาง แผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ในส่วนภูมิภาค. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan ).
E N D
ประเด็นการประชุม • กรอบแนวทางแผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค • การกำกับ ติดตาม และประเมินผลปีงบประมาณ 2555 • ภารกิจที่ต้องดำเนินการ • Service • บุคลากร • ครุภัณฑ์ • สิ่งก่อสร้าง • ระบบข้อมูล
กรอบแนวทาง แผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ในส่วนภูมิภาค
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) • แผนการพัฒนาระบบบริการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง สร้างระบบที่เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั้งภายในจังหวัด ภายในเขต และเป็นเครือข่ายระดับประเทศมีระยะเวลาอย่างน้อย ๕ ปี • ดำเนินการจัดทำแผนการสนับสนุนทรัพยากรให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนตามบทบาทหน้าที่ของบริการแต่ละระดับ และส่งเสริมสนับสนุนให้ดำเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาคุณภาพบริการตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพบริการ
ปัญหาระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย • ประสิทธิภาพ คุณภาพบริการ ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ • ความแออัดของผู้รับบริการในสถาน บริการระดับสูง • การใช้ทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม ไม่สอดคล้องกับบทบาทของสถานพยาบาลในการให้บริการ • การแข่งขันขยายบริการและเกิดการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดโดยขาดการวางแผนการจัดระบบบริการที่ดี • ความไม่เป็นธรรมในการพัฒนา
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนา และออกแบบระบบบริการ ให้มีขีดความสามารถที่จะรองรับความท้าทายในอนาคต 2. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการเป็นเครือข่าย ให้สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว 3. ริเริ่มการขยายสถานบริการที่จำเป็น ปรับปรุง/เสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการ ให้เป็นไปตามแผน
กรอบแนวคิด 1. Seamless Health Service Networks ความจำเป็นของการจัดบริการในรูปเครือข่ายแทนการขยาย รพ., ที่เชื่อมโยงทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ 2. Provincial Health Service Network เครือข่ายบริการระดับจังหวัด เป็นเครือข่ายบริการที่รองรับการส่งต่อ ตามมาตรฐานระดับจังหวัด อย่างสมบูรณ์ 3. Referral Management ส่งต่อผู้ป่วย 3 ระดับ (ต้น กลาง สูง)
เครือข่ายบริการระดับจังหวัดเครือข่ายบริการระดับจังหวัด Level Referral Advance รพศ. รพ.อุดธานี High level Standard รพท. รพท.ขนาดเล็ก M1 รพ.กุมภวาปี Mid level รพช.ขนาดใหญ่ M2 รพ.บ้านผือ,รพ.หนองหาน • F1-> รพร.บ้านดุง,รพ.เพ็ญ-F2->รพ.น้ำโสม,รพ.โนนสะอาด, รพ.หนองวัวซอ,รพ.กุดจับ,รพ.วังสามหมอ, รพ.ศรีธาตุ, รพ.ไชยวาน,รพ.ทุ่งฝน, รพ.สร้างคอม,รพ.พิบูรย์ลักษ,รพ.นายูง-F3->รพ.ห้วยเกิ้ง,รพ.กู่แก้ว,รพ.ประจักษ์ศิลปาคม First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-2
โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก (ระดับ F3) • ขนาดเตียง 10 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป หรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว ไม่จำเป็นต้องทำหัตถการ เช่น การผ่าตัดใหญ่ และไม่จำเป็นต้องจัดบริการผู้ป่วยในเต็มรูปแบบ
โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง(ระดับ F2) • ขนาดเตียง 30-90 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และจัดบริการตามมาตรฐานของบริการทุติยภูมิโดยไม่มีแพทย์เฉพาะทาง
โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (ระดับ F1) • รพช. ขนาดเตียง 60-120 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และแพทย์เฉพาะทางสาขาหลัก (อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินารีเวชกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยกรรมกระดูก และวิสัญญีแพทย์) เป็นบางสาขาเท่าที่มีอยู่ปัจจุบัน
โรงพยาบาลชุมชนเพื่อรับส่งต่อผู้ป่วย(ระดับ M2) • หมายถึง รพช. ขนาดเตียง 120 เตียงขึ้นไป ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว และแพทย์เฉพาะทางครบทั้ง 6 สาขาหลัก
โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก (ระดับ M1) • เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญ ประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาหลักทุกสาขา และสาขารองในบางสาขาที่จำเป็น กำหนดให้เป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยระดับกลาง (ระดับ M1)
โรงพยาบาลศูนย์ (ระดับ A) • เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีขั้นสูงและมีราคาแพง (Advance & sophisticate technology) มีภารกิจด้านแพทยศาสตร์ศึกษาและงานวิจัยทางการแพทย์ จึงประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทั้งสาขาหลัก สาขารอง และสาขาย่อยครบทุกสาขาตามความจำเป็น กำหนดให้เป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยระดับสูง (ระดับ A)
เครือข่ายระบบส่งต่อของสถานบริการจังหวัดอุดรธานีเครือข่ายระบบส่งต่อของสถานบริการจังหวัดอุดรธานี อ.นายูง F2 N อ.สร้างคอม F2 F2 อ.น้ำโสม M2 F1 F1 อ.บ้านดุง อ.เพ็ญ อ.บ้านผือ F2 อ.ทุ่งฝน อ.พิบูลย์รักษ์ F2 F2 อ.กุดจับ A อ.หนองหาน อ.เมืองอุดรธานี M2 อ.หนองวัวซอ F2 อ.ประจักษ์ศิลปาคม F3 อ.ไชยวาน F3 F2 อ.หนองแสง อ.กู่แก้ว อ.กุมภวาปี F2 อ.วังสามหมอ M1 F3 อ.ศรีธาตุ F2 อ.โนนสะอาด F2 F2
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 5 ปี 3 Key Strategic Areas (KSAs) KSA 1 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 3 ระดับ KSA 2 KSA 3 การพัฒนา รพ.ระดับต่างๆ โดยเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย ให้เติบโตอย่างมีทิศทาง ภารกิจชัดเจน จังหวะก้าว เกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การจัดตั้งศูนย์การแพทย์ชุมชนเมือง (ศพม.) ร้อยละ 100 จัดตั้ง ศพม. ดูแลประชากรเขตเมือง ไม่เกินแห่งละ 30,000 บาท ภารกิจดูแลสุขภาพ Holistic, Integrative, Comprehensive รูปแบบหลากหลาย ท้องถิ่น/เอกชนมีส่วนร่วม
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA2 การจัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญ ร้อยละ 50 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 9 18 86 ทารกแรกเกิด มะเร็ง 9 13 91 อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน 12 11 90 หัวใจ / หลอดเลือด 10 11 92
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA3 การยกระดับ รพ. /สถานบริการ 1 แห่ง ระดับ รพ. A แห่ง ระดับ รพ. S แห่ง ระดับ รพ. M1 ระดับ รพ. M2 แห่ง ระดับ รพ. F1 แห่ง ระดับ รพ. F2 แห่ง ระดับ รพ. F3 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง แห่ง รพ.สต. แห่ง
เครือข่ายบริการ 12 เครือข่าย
ข้อเสนอรูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพข้อเสนอรูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ
ข้อเสนอองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายข้อเสนอองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่าย ผู้ตรวจราชการกระทรวง อาวุโส ประธาน ผู้ตรวจราชการกระทรวง/สธน./ผช.ผู้ตรวจฯ รองประธาน นพ.สสจ. กรรมการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป กรรมการ ผู้แทนผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน กรรมการ ผู้แทนหน่วยบริการภาครัฐนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ กรรมการ ผู้แทนหน่วยบริการภาคเอกชน ทุกระดับ กรรมการ
ข้อเสนอองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายข้อเสนอองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่าย ผู้แทน สปสช. เขตพื้นที่ กรรมการ ผู้แทนงานการเงิน กรรมการ ผู้แทนงานประกันสุขภาพ กรรมการ ผู้แทนงานการเจ้าหน้าที่ กรรมการ ผู้แทนงานยุทธศาสตร์ กรรมการ ผู้แทน สสอ. กรรมการ ผู้แทน ผอ.รพ.สต. กรรมการ นพ. สสจ. ที่ตั้งสำนักงานเลขาฯ กรรมการและเลขา
หน้าที่คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเครือข่ายหน้าที่คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเครือข่าย ดูแลระบบบริการ จัดสรรทรัพยากร บริหารจัดการด้านการเงินการคลัง พัฒนาระบบการส่งต่อภายในเครือข่าย ติดตาม ควบคุม กำกับ การดำเนินงานและแก้ไขปัญหา สนับสนุนการดำเนินงานของหน่ายบริการให้บรรลุวัตถุประสงค์
หน้าที่สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพหน้าที่สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ สร้างฐานข้อมูลทรัพยากรของเครือข่ายให้เป็นปัจจุบัน และนำไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง วิเคราะห์ข้อมูล จัดลำดับความสำคัญ โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ
หน้าที่สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพหน้าที่สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ • จัดทำแผนพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) • แผนพัฒนาโครงสร้างระบบบริการ • แผนสนับสนุนทรัพยากร • แผนพัฒนาคุณภาพบริการ • แผนพัฒนาระบบส่งต่อ • จัดทำสรุปผลการดำเนินงานประจำปี เสนอต่อผู้บริหาร
การกำกับ ติดตาม และประเมินผลปีงบประมาณ 2555
ภารกิจที่ 2 การตรวจติดตามผล การปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ & ระบบหลักประกันสุขภาพ ประเด็น หลักที่ 2 3 หัวข้อ 1.การพัฒนาระบบบริการ (Service plan) 2.การพัฒนาระบบส่งต่อ(Referral system) 3.ประสิทธิภาพการบริการระดับจังหวัด 4 ด้าน
หัวข้อที่ 1 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็นที่ 1 : การจัดการทรัพยากร ประเด็นที่ 2 : การพัฒนาจัดการระบบเครือข่าย ประเด็นที่ 3 : คุณภาพบริการ ประเด็นที่ 4 : ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน
ประเด็นที่ 1 :การจัดการทรัพยากร
ประเด็นที่ 2 :การพัฒนาจัดการระบบเครือข่าย
ประเด็นที่ 3 :คุณภาพบริการ
ประเด็นที่ 4 :ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน
ภารกิจที่ต้องดำเนินการภารกิจที่ต้องดำเนินการ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1. การพัฒนาศักยภาพบริการ 1) แต่ละ รพ. จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพบริการ 2) จังหวัดมีแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับจังหวัด 2. การจัดการเครือข่ายบริการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการ 4. การประเมินผลสัมฤทธ์การดำเนินงาน
แผนพัฒนาศักยภาพบริการ รพ. เป็นแผนระยะ 5 ปี (2554-2559) เป้าประสงค์ : พัฒนาขีดความสามารถขั้นสูงในระดับนั้น เป้าหมายเชิงผลลัพท์ : เพิ่มขีดความสามารถ, ขยายบริการ ที่ยังเป็นส่วนขาด และจัดทำแผนลงทุนเป็น Package จัดลำดับความสำคัญของแต่ละเป้าหมาย ปรับปรุง/ทดแทน เพื่อคงศักยภาพบริการเดิม ใช้แผนเป็นตัวขับเคลื่อน กำกับติดตาม
องค์ประกอบของแผนพัฒนาศักยภาพบริการองค์ประกอบของแผนพัฒนาศักยภาพบริการ 1. ข้อมูลพื้นฐาน 2. การวิเคราะห์ศักยภาพ / ส่วนขาด, กำหนดเป้าหมาย 1) ศักยภาพบริการในภาพรวม 2) ศักยภาพบริการของศูนย์เชี่ยวชาญ 4 สาขา 3) ศักยภาพบริการศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 4) การปรับปรุง/ทดแทน เพื่อคงศักยภาพ 3. การจัดลำดับความสำคัญของบริการ 5 ปี 4. การจัดลำดับความสำคัญของงบลงทุน 5. สรุปภาพรวม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัด 1. ข้อมูลพื้นฐาน 2. เป้าหมายพัฒนาศักยภาพ (ปฐม ทุติย ตติย) 3. แผนพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด 4. ลำดับความสำคัญของงบลงทุน (ปฐม ทุติย ตติย) 5. ลำดับความสำคัญของความต้องการบุคลากร 6. การติดตาม กำกับ ประเมินผล
Hi-light พัฒนาระบบส่งต่อปี 2555 1. มุ่งเน้นการดำเนินงานของ ศสต.จังหวัด/เขต รองรับการส่งต่อที่ร้องขอ จาก รพ. ต้นทาง ลดการปฏิเสธการส่งต่อ โดยเฉพาะการส่งต่อข้ามเขต 2. จัดตั้ง/หารือเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ สาขาที่มีการส่งต่อสูง และเป็นปัญหาของจังหวัด 3. บริหารจัดการระบบข้อมูลการส่งต่อ เพื่อติดตามความก้าวหน้า