260 likes | 530 Views
การสื่อสารและระบบเครือข่าย. (Communications and Networks). วัตถุประสงค์. หลังจากศึกษาบทนี้แล้ว คุณสามารถ : อธิบายวิวัฒนาการของการสื่อสารแบบไร้สายและเทคโนโลยีระบบสื่อสารได้ อธิบายความแตกต่างของการเชื่อมต่อระบบสื่อสารแบบมีสายและแบบไร้สายได้
E N D
การสื่อสารและระบบเครือข่ายการสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communications and Networks)
วัตถุประสงค์ หลังจากศึกษาบทนี้แล้ว คุณสามารถ: • อธิบายวิวัฒนาการของการสื่อสารแบบไร้สายและเทคโนโลยีระบบสื่อสารได้ • อธิบายความแตกต่างของการเชื่อมต่อระบบสื่อสารแบบมีสายและแบบไร้สายได้ • บอกวิธีการเลือกใช้อุปกรณ์สื่อสารให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ • อภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยสำคัญในการส่งข้อมูลได้ Page 258
วัตถุประสงค์ (ต่อ) • อธิบายลักษณะการเชื่อมต่อสำหรับการใช้งานเครือข่ายชนิดต่างๆ และ ความหมายของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเครือข่าย • อภิปรายความแตกต่างของเครือข่ายแต่ละชนิด • อธิบายสถาปัตยกรรมของเครือข่าย การติดตั้ง และการวางระบบเครือข่าย • อธิบายลักษณะการทำงานของอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต และระบบความปลอดภัยของระบบเครือข่ายในองค์กร Page 258
ระบบสื่อสาร ระบบการสื่อสารคือระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งทำหน้าที่ส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยใช้สายเชื่อมหรือไม่ใช้ก็ได้ Page 240
ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์สำหรับการติดต่อสื่อสารตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์สำหรับการติดต่อสื่อสาร • อีเมลล์(E-mail) • อินแสตนท์เมสเสจจิ้ง(Instant messaging: IM) • อินเทอร์เน็ตเทเลโฟน (Internet telephone) • การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) Page 240
ระบบการสื่อสาร • อุปกรณ์ส่งและรับข้อมูล (sending and receiving device) • ช่องทางสื่อสาร(communication channel) • อุปกรณ์เชื่อมต่อ (connection device) • การกำหนดรูปแบบในการขนส่งข้อมูล (data transmission specification) Page 241
ช่องทางสื่อสาร • การเชื่อมต่อแบบมีสาย • การเชื่อมต่อแบบไร้สาย Page 242
สรุปชนิดช่องทางสื่อสารสรุปชนิดช่องทางสื่อสาร
อุปกรณ์เชื่อมต่อ โมเด็ม (MODEM)เป็นอุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ ย่อมาจากโมดูเลชัน-ดีโมดูเลชัน (Modulation Demodulation) • โมดูเลชัน (modulation) หมายถึง กระบวนการในการเปลี่ยนสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนะล็อก • ดีโมดูเลชัน (demodulation) เป็นกระบวนการเปลี่ยนสัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณดิจิทัล
ชนิดของโมเด็ม • โมเด็มแบบภายนอก(External) • โมเด็มแบบภายใน(Internal) • โมเด็มแบบพีซีการ์ด(PC Card) • โมเด็มแบบไร้สาย(Wireless) Page 244
ความเร็วในการขนส่งข้อมูลของโมเด็มความเร็วในการขนส่งข้อมูลของโมเด็ม
ชนิดของการเชื่อมต่อ • หมุนโทรศัพท์ (Dial-up) • ดีเอสแอล (Digital Subscriber Line : DSL)หรือ เอดีเอสแอล (Asymmetric Digital Subscriber Line : DSL) • เคเบิลโมเด็ม (Cable modem) • ดาวเทียม (Satellite/air connection service) • เซลลูล่าร์(Cellular service)
การขนส่งข้อมูล การขนส่งข้อมูล คือการขนส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ซึ่งข้อมูลอาจจะอยู่ในรูปของไฟล์ ภาพ เสียง หรือตัวอักษร มีหลายปัจจัยที่มีผลต่อการสื่อสารรวมถึง • แบนด์วิดท์ • โพรโทคอล
แบนด์วิดท์ แบนด์วิดท์ (bandwidth)เป็นการวัดความจุของช่องทางสื่อสาร ซึ่งประสิทธิภาพของการส่งจะขึ้นอยู่กับการส่งผ่านข้อมูลในช่องสัญญาณว่าสามารถส่งได้มากน้อยเพียงใดต่อหน่วยเวลา
ชนิดของแบนด์วิดท์ • วอยซ์แบนด์ (voice band) • มีเดียมแบนด์ (medium band) • บรอดแบนด์ (broadband) Page 246
โพรโทคอล โพรโทคอล (Protocol) เป็นข้อตกลงสำหรับการรับส่งข้อมูลในระบบสื่อสาร ซึ่งมีอยู่หลายชนิด แต่โพรโทคอลที่ใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission control protocol/Internet protocol) โดยจะทำหน้าที่เกี่ยวกับ • การระบุอุปกรณ์รับและส่งข้อมูล • การเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลระหว่างการรับและส่งข้อมูล Page 247
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศและใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน Page 247
โหนด (node) ไคลแอนต์ (client) หรือเครื่องคอมพิวเตอร์รับบริการ เซิร์ฟเวอร์ (server )หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการ ฮับ ( hub) การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card : NIC) ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System : NOS) คำศัพท์เฉพาะที่พบบ่อยเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 248
คำศัพท์เฉพาะที่พบบ่อยเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์คำศัพท์เฉพาะที่พบบ่อยเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การประมวลผลแบบกระจาย (distributed processing) • คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (host computer) • ผู้ดูแลเครือข่าย (network manager)
ชนิดของเครือข่าย • เครือข่ายบริเวณเฉพาะที่หรือแลน(Local area network) • เครือข่ายเฉพาะที่ภายในบ้าน(Home network) • WLAN • เครือข่ายบริเวณนครหลวงหรือแมน(Metropolitan area network) • เครือข่ายบริเวณกว้างหรือแวน(Wide area network) LAN Page 249
สถาปัตยกรรมเครือข่าย สถาปัตยกรรมเครือข่าย (network architecture) เป็นการอธิบายเกี่ยวกับ • โครงร่างเครือข่ายแบบต่างๆ • วิธีการเชื่อมต่อเครือข่าย • ลักษณะการใช้งานเครือข่าย • การแลกเปลี่ยนทรัพยากรต่างๆ Page 251
สถาปัตยกรรมเครือข่าย สามารถแบ่งออกได้ 4 แบบ ตามรูปแบบของการเชื่อมต่อหรือที่เรียกว่า โทโพโลยี(topology) • แบบดาวStar • แบบบัสBus • แบบวงแหวนRing • แบบลำดับชั้นHierarchical
สรุปโทโพโลยีเแบบต่างๆสรุปโทโพโลยีเแบบต่างๆ
ลักษณะการใช้งานระบบเครือข่ายลักษณะการใช้งานระบบเครือข่าย • สามารถแบ่งลักษณะการใช้งานระบบเครือข่ายได้ดังนี้ • ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปลายทาง (Terminal) • ระบบเครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ (Client/Server) • ระบบเครือข่ายแบบโหนดจุด (Peer-to-peer) Page 255
อินเทอร์เน็ตสำหรับองค์กรอินเทอร์เน็ตสำหรับองค์กร • อินทราเน็ต(Intranet) • จะต้องมีรหัสบัญชีผู้ใช้ • ใช้งานเฉพาะภายในองค์กร • เอ็กซ์ทราเน็ต(Extranet) • ใช้งานเฉพาะภายในองค์กร และ สามารถกำหนดสิทธิให้เข้าถึงองค์กรอื่นได้ • ไฟร์วอลล์(Firewall) • เป็นระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่าย ทั้งจากภายนอกและภายในเครือข่าย Page 257
แบบทดสอบเรื่องการสื่อสารและระบบเครือข่าย(Communications and Networks) • อธิบายเกี่ยวกับโพรโทคอลมาตรฐานของอินเทอร์เน็ต • บอกความแตกต่างระหว่างการเชื่อมต่อแบบมีสายและไร้สาย • อภิปรายเกี่ยวกับชนิดของเครือข่ายทั้ง 3 ประเภท • อภิปรายเกี่ยวกับรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายทั้ง 4 ประเภท • อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะการใช้งานเครือข่ายประเภทต่างๆ