390 likes | 674 Views
การเตรียมโรงเรียน สู่ประชาคม “ อาเซียน” ปี 2558. อ. จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ ดร.ชย พร กระต่ายทอง สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 081-5529455, 081-7139388. ทำไมต้อง... ขับเคลื่อนอาเซียน ?. จุดเริ่มต้นของอาเซียน.
E N D
การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม“อาเซียน” ปี 2558 อ.จันทราตันติพงศานุรักษ์ ดร.ชยพร กระต่ายทอง สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 081-5529455, 081-7139388
ทำไมต้อง...ขับเคลื่อนอาเซียน?ทำไมต้อง...ขับเคลื่อนอาเซียน?
จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510) • วัตถุประสงค์สำคัญ • ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม • ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค • เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ
สมาชิกอาเซียน • สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999
ข้อมูลทั่วไปของอาเซียนข้อมูลทั่วไปของอาเซียน
ตัวชี้วัดสำคัญของอาเซียน (2009) หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ GDP: ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ FDI : Foreign Direct Investment ที่มา : ASEAN Secretariat
ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียนความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน ความบริสุทธิ์ ความเจริญรุ่งเรือง สันติภาพและเสถียรภาพ ความกล้าหาญและพลวัตร ข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ
ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
One Vision, One Identity, One Community
China (จีน) Japan (ญี่ปุ่น) ROK เกาหลีใต้
ASEAN Centrality ASEAN+3 ASEAN ASEAN+6
ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน) • A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน • วางกรอบการทำงาน การจัดตั้งสถาบัน และแนวทางกฎหมายของASEAN • วัตถุประสงค์หลักของASEAN Charter -- สร้าง ASEANให้ ….. • มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น • เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น • ให้ความสำคัญต่อประชาชนมากขึ้น
ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ (เลขาธิการอาเซียน) 2551-2555
ทัศนคติและความตระหนักรู้เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน”บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูลประเทศสมาชิกอาเซียน สำรวจข้อมูลของนักศึกษา จำนวน 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน
ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN)
ถาม ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน รู้จักธงอาเซียน รู้ว่าอาเซียนก่อตั้งเมื่อใด
เป้าหมายของอาเซียน • ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศรวมเป็นประชาคมเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) • มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร ยกเว้น สินค้าอ่อนไหวสูง (ข้าว น้ำตาล) และสินค้าอ่อนไหว (ไทย:กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง ไม้ตัดดอก บรูไน:กาแฟ ชา) • เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุน และการลงทุนอย่างเสรี • แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางานทำ • ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ในการทำงานของอาเซียน
นโยบายรองรับการเปิดเสรีร่วมกับประชาคมอาเซียนของกระทรวงศึกษาธิการ ปี 2553-2554 • การเผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรียมความพร้อมของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน • การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา นักเรียน และประชาชนให้มีทักษะ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน ICT ทักษะชีวิต พหุวัฒนธรรม กระบวนการคิดฯลฯ
การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูในอาเซียน และยอมรับในคุณสมบัติร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค • การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน • การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ปี 2555-2558ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน / ประชาคมโลก • ส่งเสริมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการศึกษา การวิจัยและพัฒนา และการฝึกอบรมนานาชาติในภูมิภาค • ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษากับประเทศต่าง ๆ และองค์กรระหว่างประเทศ • แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างผู้เรียน ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา • กำหนดมาตรการเชิงรับและรุกเพื่อรองรับการเปิดเสรีทางการค้าและบริการด้านการศึกษา
ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาสากลเป็นภาษาที่สอง ตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐาน และการเรียนรู้ภาษาที่สาม • ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาจัดหลักสูตรนานาชาติ หรือหลักสูตรสมทบร่วมกับสถาบันต่างประเทศ จุดเน้นของ สพฐ. ปี 2554 ข้อที่ 8 “นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)”
เป้าหมายการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนเป้าหมายการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน Spirit of ASEAN (540 โรง) ASEAN Focus School (14 โรง) School สังกัด สพฐ. Sister School (30 โรง) Buffer School (24 โรง) • เป็นโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการเรียนรู้อาเซียน เน้นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และหน่วยการเรียนรู้อาเซียนศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ • เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เป็นแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนในโรงเรียน และชุมชน • ผู้บริหาร ครู และผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน • จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน • จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน • มีมุมอาเซียนศึกษา หรือศูนย์อาเซียนศึกษา • เป็นโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน เน้นภาษาอังกฤษ ICT พหุวัฒนธรรม ภาษาเพื่อนบ้าน • เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เผยแพร่สื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป • จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน • มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง • เป็นโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน เน้นภาษาเพื่อนบ้านพหุวัฒนธรรม • เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เผยแพร่สื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป • จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน • มีโรงเรียนเครือข่าย • อย่างน้อย 9 โรง
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น “อาเซียน” และการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับ “อาเซียน” ASEAN Community หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน: Sister School/Buffer School ข้อมูลพื้นฐาน/บริบทของโรงเรียน รายวิชาพื้นฐานที่บูรณาการอาเซียน Web Community หลักสูตรสถานศึกษาSister School/ Buffer School หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รายวิชาเพิ่มเติมที่เน้นอาเซียน อาเซียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่เน้นอาเซียน จุดเน้นของ Sister School ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน ICT พหุวัฒนธรรม จุดเน้นของ Buffer School ภาษาเพื่อนบ้าน พหุวัฒนธรรม
องค์ความรู้ • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน • ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเทศ สมาชิกอาเซียน • วิถีชีวิต/พหุวัฒนธรรม • ประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน • ประเด็นสำคัญ เช่น พลเมือง สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย ประวัติศาสตร์เชิงบวก สันติศึกษา สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศสุขภาพ การค้าเสรี ฯลฯ • สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ • ทักษะ/กระบวนการ • การใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน • การใช้ ICT • การคำนวณ การให้เหตุผล • กระบวนการคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม แก้ปัญหา สืบสอบ สื่อสาร สร้างความตระหนัก • คุณลักษณะอันพึงประสงค์ • มีทักษะชีวิต • กล้าแสดงออก • เอื้ออาทรและแบ่งปัน • เข้าใจตนเองและผู้อื่น • ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล • Common Values • Gender Sensitivity • ฯลฯ อาเซียน การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 • หลักสูตรสถานศึกษา • ส่วนนำ (ความนำ วิสัยทัศน์โรงเรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์) • โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา (โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้าง หลักสูตรชั้นปี) • คำอธิบายรายวิชา • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • เกณฑ์การจบการศึกษา รายวิชาพื้นฐานที่บูรณาการ อาเซียน รายวิชาเพิ่มเติมที่เน้นอาเซียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่เน้นอาเซียน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับการออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ กำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้: ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ กำหนดการวัดและประเมินผล: ภาระงาน/ผลงาน การประเมินและเกณฑ์ วางแผนการจัดการเรียนรู้: กิจกรรมการเรียนรู้
แนวการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนแนวการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน • เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ • ใช้การบูรณาการ • ยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนกิจกรรมได้ตามความเหมาะสม • ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด แก้ปัญหา สร้างความตระหนัก สื่อสาร • เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลหลากหลายตามสภาพจริง • ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี เพื่อความเป็นพลเมืองที่ดีในประชาคมอาเซียน
สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ • เอกสาร หนังสือ ตำรา นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม วรรณคดี • เรื่องราว เหตุการณ์ • เพลง เกม การละเล่น • ธงชาติ ลูกโลก แผนที่ แผ่นพับ บัตรคำ บัตรภาพ ป้ายนิเทศ • ของจริง ของจำลอง • Website, Internet, Facebook, Web Community, E-book, CD, DVD etc. • สถานที่ต่างๆ • บุคคลต่างๆ ฯลฯ
Website แนะนำ http://www.spiritofasean.com http://www.15thaseansummit-th.org/thai/asean_documentary.php http://www.15thaseansummit-th.org/thai/asean_discovery_cartoon.php http://www.aseansec.org http://www.dtn.go.th http://www.thaifta.com http://en.wikipedia.org/wiki/ASEAN http://www.mfa.go.th/web/1650.php http://www.thaigov.go.th/eng/index.aspx http://www.mfa.go.th/web/2630.php http://www.tourismthailand.org http://www.youtube.com
แหล่งการเรียนรู้: ศูนย์อาเซียนศึกษา • ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน: Spirit of ASEAN 54 โรง * โรงเรียน Sister School 30 ศูนย์ * โรงเรียน Buffer School 24 ศูนย์ * โรงเรียนเครือข่าย ตามความพร้อม • ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการการพัฒนาการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ASEAN FOCUS 14 โรง • ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโรงเรียน Education Hub 14 โรง
ตัวอย่างบทบาทและหน้าที่ของศูนย์อาเซียนศึกษาตัวอย่างบทบาทและหน้าที่ของศูนย์อาเซียนศึกษา
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา • เป็นผู้นำ • นิเทศ กำกับ ติดตาม • ส่งเสริม/สนับสนุน • สร้างขวัญและกำลังใจ ฯลฯ