180 likes | 379 Views
ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน. วิเชียร ตันติวิศาล 9 มิถุนายน 2555. ก๊าซเรือนกระจก Greenhouse Gas (GHG). การเกิดก๊าซเรือนกระจก การคำนวณก๊าซเรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ก๊าซเรือนกระจกจากการรั่วไหล ก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานของประเทศไทย มาตรการพลังงานช่วยลดก๊าซเรือนกระจก.
E N D
ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงานก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน วิเชียร ตันติวิศาล 9 มิถุนายน 2555
ก๊าซเรือนกระจก Greenhouse Gas (GHG) • การเกิดก๊าซเรือนกระจก • การคำนวณก๊าซเรือนกระจก • ก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง • ก๊าซเรือนกระจกจากการรั่วไหล • ก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานของประเทศไทย • มาตรการพลังงานช่วยลดก๊าซเรือนกระจก
ลักษณะของก๊าซเรือนกระจกลักษณะของก๊าซเรือนกระจก • ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas, GHG) เป็นก๊าซที่มีความสามารถในการกักเก็บความร้อน • ถ้ามีปริมาณเหมาะสมทำให้โลกอุ่น มีน้อยทำให้โลกเย็น (-18๐C) แต่ถ้ามีมากเกินไปเกิดการสะสมความร้อนทำให้เกิดภาวะโลกร้อน • ก๊าซที่ก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกที่สำคัญ ได้แก่ CO2, CH4, N2O และ CFC(Freon CCl3F) • CFC ก๊าซที่ไม่มีตามธรรมชาติ และเป็นตัวทำลายโอโซน O3 ในชั้นบรรยากาศ Stratospheres ซึ่งช่วยกรอง UV ทำให้โลกร้อนขึ้น • สำหรับพลังงาน CO2, CH4และ N2O
ชั้นบรรยากาศของโลก คลอรีนเกิดปฎิกิริยากับโอโซนเป็น Chlorine Monoxide กับ O2
การคำนวณก๊าซเรือนกระจกการคำนวณก๊าซเรือนกระจก • IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change) “2006 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories” Volume 2 เกี่ยวกับส่วนของพลังงาน • Combustion หรือการเผาไหม้ การใช้พลังงานเป็นเชื้อเพลิง • Stationary and Mobile • Fugitive การรั่วไหลของ GHG จากพลังงาน
Methodological Approaches • ระเบียบวิธีปฏิบัติการคำนวณ GHG ตามคำแนะนำของ IPCC • สมการการคำนวณ ∑EJiFi พลังงาน (Joules) ชนิด i * ค่ามลพิษของพลังงาน I 1 Tera Joules = 23.672 toe • มี 3 แบบหรือ 3 ลักษณะโครงสร้าง (Tiers) • TIER I ค่ามลพิษของ IPCC • TIER II ค่ามลพิษของประเทศไทยเอง • TIER III การเก็บรวบรวมมลพิษที่เกิดขึ้นจริง
Emission Factor (CO2) IPCC 2006 ชนิดเชื้อเพลิงค่ามลพิษ (kg/TJ) • น้ำมันดิบ73,300 • น้ำมันเบนซิน69,300 • น้ำมันดีเซล 74,100 • น้ำมันเตา77,400 • LPG 63,100 • ถ่านหิน96,100 • ลิกไนต์101,000 • ก๊าซธรรมชาติ59,100 หมายเหตุ: วิธีการคำนวณ CO2ของ IPCC เกิดจาก Carbon Contain (ปริมาณคาร์บอนต่อหน่วยพลังงานที่มีอยู่ในเชื้อเพลิงชนิดนั้นๆ และเกิดการเผาไหม้หมด 100% จะเกิดปฏิกิริยา Oxidation และกลายเป็น CO2สูตรคือ Carbon Contain *44/12 ถ้าเผาไหม้ที่ 95 หรือการเผาค่าที่จะเป็น *0.95 หรือ *1.05
GHG จากการใช้พลังงาน ก๊าซพิษที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ • GHG ที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ได้แก่ CO2, CH4และ N2O นอกจากนี้ยังมีก๊าซพิษอื่นๆ ได้แก่ CO, NOxและSO2 ประเภทของผู้ใช้พลังงานและชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้ • ผู้ใช้ได้แก่ โรงไฟฟ้า ภาคอุตสาหกรรมการผลิต (รวมการแปรรูปพลังงานอื่นที่ไม่ใช่ไฟฟ้า เช่น การกลั่นน้ำมัน) การขนส่ง และอื่นๆ • ชนิดของพลังงานที่นำมาคำนวณ คือ พวกเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดต่างๆ ได้แก่ น้ำมันชนิดต่างๆ (เช่น น้ำมันเบนซิน น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา และ LPG) ถ่านหิน ลิกไนต์ และก๊าซธรรมชาติ
ข้อยกเว้นการไม่นำมาคำนวณและคำนวณแยกต่างหากข้อยกเว้นการไม่นำมาคำนวณและคำนวณแยกต่างหาก • เชื้อเพลิงที่ไม่ก่อให้เกิด GHG ได้แก่ นิวเคลียร์ • พลังงานหมุนเวียนที่ไม่เกิดการเผาไหม้ เช่น พลังน้ำ แสงอาทิตย์ ลม และอื่นๆ • พลังงานหมุนเวียนที่มีการเผาไหม้ เช่น เชื้อเพลิงชีวภาพ ชีวมวล และก๊าซชีวภาพ จะคำนวณแยก หรือไม่นำมารวมกับฟอสซิล กันการนับซ้ำ เพื่อนำไปสมดุลกับการสังเคราะห์แสงและอื่นๆ • การใช้พลังงานสำหรับต่างประเทศ เช่น เครื่องบิน และเรือเดินสมุทร
GHG จากการรั่วไหล (Fugitive Emissions) เกิดจากการทำเหมือง การขุดเจาะก๊าซธรรมชาติ หรือน้ำมัน เกิดจากการสำรวจ การขนส่ง และรั่วไหล จากการแปรรูป การกลั่น การแยกต่างๆ แยกตามชนิดพลังงานที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ • การทำเหมืองลิกไนต์ เกิด CH4และ CO2 • ก๊าซธรรมชาติเกิด CH4, CO2และN2O • น้ำมันเชื้อเพลิงเกิด CH4, CO2และN2O คาดการณ์ว่าในส่วนการรั่วไหล GHG จากพลังงาน ส่วนใหญ่จะเป็น CH4ซึ่งมีผลต่อความร้อนมากกว่า CO2ประมาณ 23 เท่า
การคำนวณ Fugitive ตาม IPCC 2006 • การทำเหมืองลิกไนต์ และถ่านหิน - CH4emission = Surface mining emissions of CH4 + Post-mining emission of CH4 • Methane Emissions = CH4 Emission Factor x Surface Coal Production x ConversionFactor • การจัดหาก๊าซธรรมชาติและน้ำมัน • ขั้นตอนที่เกิดการรั่วไหล การสำรวจ การผลิต การแยก (ก๊าซธรรมชาติ) การกลั่น(น้ำมัน) การขนส่งและการกระจาย (Transport and Distribution) • Methane Emissions = CH4 Emission Factor x Surface Coal Production x ConversionFactor • Carbon dioxide Emissions = CO2 Emission Factor x Surface Coal Production x Conversion Factor • Nitrous Oxide Emissions = N2OEmission Factor x Surface Coal Production x Conversion Factor
สรุป มลพิษจากพลังงาน มลพิษจากการใช้พลังงาน (Combustion) มลพิษจากพลังงานอื่น จากการหลุดรอดหรือรั่วไหล จากการจัดหาจัดการพลังงาน(Fugitive) I การเผาไหม้แบบ Stationary NG และน้ำมัน • การสำรวจ • การขุดเจาะ • การผลิต • การส่งทางท่อ • การแยก/กลั่น • การ Upgrade • การขนส่งสู้สถานีบริการ ถ่านหิน/ลิกไนต์ • การทำเหมือง • หลังการทำเหมือง • การเก็บรักษาถ่านหิน/ลิกไนต์ • ขนส่ง และอื่นๆ II การเผาไหม้แบบ Mobile รวม มลพิษจากการใช้ + มลพิษหลุดรอด = มลพิษจากพลังงาน
การเกิด GHG ของประเทศไทยจากการใช้พลังงาน
มาตรการที่ช่วยลด GHG • การใช้พลังงานหมุ่นเวียนต่างๆ ที่ไม่ก่อให้เกิด GHG • การใช้พลังงานทดแทนที่ไม่ก่อให้เกิด GHG เช่น นิวเคลียร์ • การใช้พลังงานหมุนเวียนต่างๆ ที่ลดการใช้ฟอสซิล เช่น Ethanol, Bio-diesel, Biomass, Biofuel • การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน • ด้านอุปทาน เช่น การใช้การผลิตไฟฟ้า Co-gen ตัวอย่าง โรงงานปูนซีเมนต์ใช้ Heat Recovery • ด้านอุปสงค์ ลดการใช้พลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ