1 / 19

นโยบายการสื่อสารความเสี่ยง โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

นโยบายการสื่อสารความเสี่ยง โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา. โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข. อีโบลา ( Ebola ). พบเมื่อปี 1976. สายพันธุ์ที่ระบาด ปัจจุบัน. มี 5 สายพันธ์. สายพันธุ์ Zaire ebolavirus. Zaire ebolavirus (EBOV) - Bundibugyo ebolavirus (BDBV)

casey
Download Presentation

นโยบายการสื่อสารความเสี่ยง โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการสื่อสารความเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลานโยบายการสื่อสารความเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  2. อีโบลา ( Ebola ) พบเมื่อปี 1976 สายพันธุ์ที่ระบาด ปัจจุบัน มี 5 สายพันธ์ สายพันธุ์ Zaire ebolavirus • Zaire ebolavirus (EBOV) • - Bundibugyo ebolavirus (BDBV) • - Sudan ebolavirus (SUDV) • - Taï Forest ebolavirus (TAFV). • Reston ebolavirus (RESTV) • พบที่ ประเทศจีน และ ฟิลิปปินส์ • แต่ไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วย • หรือเสียชีวิต • - Nzara, Sudan • -Yambuku,Democratic Republic of Congo. ใกล้แม่น้ำ Ebola และใช้เรียกเป็นชื่อโรคตั้งแต่นั้นมา

  3. ความเป็นมาโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาความเป็นมาโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ด เริ่มระบาด ในประเทศกินี ไลบีเรีย และเซียร์ราลีโอนตั้งแต่เดือน มีนาคม 2557 ลักษณะของโรค โรคติดเชื้อเฉียบพลันเกิดจากเชื้อไวรัสอีโบลา เป็นโรคที่มีความรุนแรงสูง อัตราตายประมาณร้อยละ 60-90 การติดต่อผ่านทางเลือด และสารคัดหลั่งของคน และสัตว์ป่วย ไม่ติดต่อทางการหายใจ หรือยุงพาหะ โรคนี้ไม่มีวัคซีนป้องกัน และยังไม่มียารักษาโดยเฉพาะ (กำลังอยู่ระหว่างศึกษาวิจัย) แพร่ระบาด ไปยังประเทศใกล้เคียง ได้แก่ ไนจีเรีย ได้มีการประเมินสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และพบว่าการระบาดนี้ เป็นเหตุการณ์การระบาดครั้งใหญ่ที่สุดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และเป็นความเสี่ยงด้านสาธารณสุขต่อทุกประเทศทั่วโลก ผลกระทบในการแพร่ระบาดระหว่างประเทศรุนแรง และมีความจำเป็นยิ่งที่ต้องมีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรค

  4. สถานการต่างประเทศ ข้อมูลองค์การอนามัยโลก ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ – 15 สิงหาคม 2557 กินี 519 ราย (เสียชีวิต 380 ราย) พบผู้ป่วยสะสมรวม 2,127 ราย เสียชีวิต 1,145 ราย ใน 4 ประเทศ ไลบีเรีย 786 ราย (เสียชีวิต 413 ราย) เซียร์ราลีโอน 810 ราย (เสียชีวิต 348 ราย) ไนจีเรีย 12 ราย (เสียชีวิต 4 ราย) ทั้งนี้ในช่วงระหว่างวันที่ 12-13 สิงหาคม 2557 มีการรายงานผู้ป่วยรายใหม่ 152 ราย และเสียชีวิต 76 ราย โดยพบรายงานจากประเทศกินี ไลบีเรีย เซียร์ราลีโอน และไนจีเรีย

  5. การเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคติดเชื่อไวรัสอีโบลา (Ebola Virus Disease) สำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2557 ยังไม่พบรายงานผู้ป่วยยืนยัน โรคติดเชื้อฯ ประเทศไทย

  6. องค์การอนามัยโลก ออกแถลงการณ์ผ่านเว็บไซต์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2557 ประกาศให้การระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ในแอฟริกาตะวันตกเป็น ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern; PHEIC) ออกคำแนะนำให้มีการจำกัดการเดินทางในประเทศที่มีการระบาด ประเทศที่มีความเสี่ยงสูงหรือพบผู้ป่วย โดยที่ผู้ป่วยเดินทางไปจากประเทศที่มีการระบาด รวมทั้งประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศที่มีการระบาด ส่วนประเทศอื่นๆ ยังไม่มีการห้ามเดินทางหรือการค้า ยกเว้นการจำกัดการเดินทางที่เกี่ยวข้องกับมาตรการที่ได้แจ้งไว้

  7. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia by week of reporting, December 2013 - 1 August 2014

  8. Disease update Confirmed,probable,and suspect cases and deaths from Ebola virus disease in Guinea,Liberia,Nigeria,and Sierra Leone,as of 13 August 2014

  9. Risk Perception for Ebola Risk = Hazard X Exposure X Probability Risk = Hazard + Public Outrage ( P. Sandman 1987 ) • Risks feared less: • natural • choice involved • may also provide benefit • under your control • from trusted source • we are less aware of • threatens others • Risks feared more: • new • human-made • imposed upon them • associated with death • from untrustworthy source • directly affect you • affect our children • high uncertainty

  10. 7 Evolutionary Stages of Risk Communication ( Baruch Fischhoff 1995 ) • Get the numbers right • Tell them the numbers • Explain what we mean by the numbers • Show them that they’ve accepted similar risks in the past • Show them that it’s good deal for them • Treat them nice • Make them partners

  11. วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เพื่อสร้างความมั่นใจในมาตรการป้องกันโรคและลดความตื่นตระหนก เพื่อให้ประชาชนทราบช่องทางในการแจ้ง ขอข้อมูล ค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

  12. ขั้นการสื่อสารความเสี่ยงขั้นการสื่อสารความเสี่ยง ระยะไม่มีผู้ป่วยในประเทศไทย • เตรียมพร้อม ให้ความรู้ ความเข้าใจ ลดความตระหนก ระยะมีผู้เข้าข่ายการเฝ้าระวังและมีการติดตามผู้สัมผัส การแยกผู้สัมผัส • - ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดของสังคม • - สื่อสารแบบเครือข่าย ระยะมีผู้ป่วยยืนยันในประเทศ • - ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดของสังคม • - สื่อสารแบบเครือข่ายภายใต้ Incident Command System • - สื่อสารเฉพาะพื้นที่ ถึงระดับชุมชน ( Event-Based Risk Communication ) ระยะมีการระบาดในประเทศ • - ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดของสังคม • - สื่อสารแบบเครือข่ายภายใต้ Incident Command System • - สื่อสารเฉพาะพื้นที่ ถึงระดับชุมชน ( Event-Based Risk Communication )

  13. ประชาชนทั่วไป บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขทั่วประเทศ (อสม.) สื่อมวลชนและเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ระยะเวลาในการดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเร่งด่วน • 15 ส.ค.57 – 15 ก.ย.2557 ระยะต่อเนื่อง • 16 ก.ย. 57 – 31 ธ.ค. 2557

  14. ประชาชนทั่วไป ประเด็นสื่อสาร- ให้ตระหนัก แต่ไม่ตระหนก • ข้อมูลโรค/สถานการณ์/การป้องกัน • การปฏิบัติเมื่อต้องเดินทาง • มาตรการควบคุมป้องกันโรค • ความร่วมมือในการเฝ้าระวังโรค • ประเด็นสื่อสารสำคัญ “ อีโบลา ไม่ติดทางการหายใจ กินอาหาร น้ำดื่มน้ำใช้ ติดจากการสัมผัส สารคัดหลั่ง เช่น เลือด น้ำเหลือง น้ำมูก น้ำลาย ของผู้ป่วยอีโบลาที่มีอาการเท่านั้น และอีโบลายังมาไม่ถึงประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุขดำเนินมาตรการป้องกันอย่างเข้มแข็ง”

  15. บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประเด็นสื่อสาร-ให้เข้าใจ ป้องกัน ควบคุมได้ • ข้อมูลโรค / สถานการณ์ / การป้องกัน • แนวทางการดูแลรักษาและส่งต่อ • มาตรการควบคุมป้องกันโรค • การป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล • การป้องกันการติดเชื้อระหว่างปฏิบัติหน้าที่ภาคสนาม • ประเด็นการสื่อสาร “ การปฏิบัติตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อจากการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด ป้องกันโรคได้”

  16. อาสาสมัครสาธารณสุข ประเด็นการสื่อสาร-ให้เข้าใจ เป็นหูเป็นตา และสื่อสารกับประชาชน • ข้อมูลโรค / สถานการณ์ / การป้องกัน • แนวทางการดูแลรักษาเบื้องต้นและส่งต่อระดับชุมชน • มาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค • การป้องกันการติดเชื้อระหว่างปฏิบัติหน้าที่ภาคสนาม • การให้ความรู้ประชาชนในการป้องกันตัวเองและแจ้งเหตุ • ประเด็นสื่อสารสำคัญ “ อีโบลา ไม่ติดทางการหายใจ กินอาหาร น้ำดื่มน้ำใช้ ติดจากการสัมผัส สารคัดหลั่ง เช่น เลือด น้ำเหลือง น้ำมูก น้ำลาย ของผู้ป่วยอีโบลาที่มีอาการเท่านั้น และอีโบลายังมาไม่ถึงประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุขดำเนินมาตรการป้องกันอย่างเข้มแข็ง ”

  17. สื่อมวลชนและเครือข่ายประชาสัมพันธ์สื่อมวลชนและเครือข่ายประชาสัมพันธ์ • ข้อมูลโรค / สถานการณ์ / การป้องกัน • มาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค • การให้ความรู้ประชาชนในการป้องกันตัวเองและแจ้งเหตุ

  18. ช่องทางและกระบวนการสื่อสารช่องทางและกระบวนการสื่อสาร เฝ้าระวังสื่อต่างๆ สื่อสารช่องต่างๆ สื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึงเครือข่าย • - เฝ้าระวังสื่อหลักต่างๆ • เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ • - เฝ้าระวัง Social Media เช่น Facebook Twitter • . ตอบโต้กรณีความเข้าใจผิด ที่กระทบต่อกระบวน การทำงาน ความเชื่อมั่น และภาพลักษณ์ ตอบโต้กรณี..

  19. Thank You

More Related