330 likes | 490 Views
การพัฒนาศักยภาพกรรมการ กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น. 23 เมษายน 2556. เสริมศักยภาพชุมชนท้องถิ่น สร้างสุขภาพชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืน. วิสัยทัศน์ รมว. สาธารณสุข (นพ. ประดิษฐ สินธว ณรงค์).
E N D
การพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นการพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 23 เมษายน 2556 เสริมศักยภาพชุมชนท้องถิ่น สร้างสุขภาพชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืน
วิสัยทัศน์รมว. สาธารณสุข (นพ.ประดิษฐสินธวณรงค์) ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน
บันคีมูน เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ชื่นชมถึงความสำเร็จของรัฐบาลในการขับเคลื่อน ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย
1) ทำไมพวกเรามาอยู่ที่นี่ • การเกิดกองทุนสุขภาพตำบล 2) มีกองทุนสุขภาพตำบลแล้วเราจะทำงานอย่างไร • เราจะทำงานร่วมกันได้หรือไม่ • เราจะทำงานร่วมกันอย่างไร 3) กองทุนที่มีประสิทธิภาพเป็นอย่างไร • เราจะทำงานร่วมกันให้มีประสิทธิภาพอย่างไร 4) ก้าวต่อไปของกองทุน • เราจะร่วมกันพัฒนากองทุนให้ส่งผลต่อสุขภาวะได้อย่างไร
สถานการณ์ที่ท้าทาย • การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุจากการมีโครงสร้างประชากรที่วัยสูงอายุเพิ่มขึ้น • ประชากรผู้สูงอายุร้อยละ ๑๓ ของประชากรทั้งหมดของประเทศ (สำมะโนประชากรและการเคหะ พ.ศ. ๒๕๕๓, สำนักงานสถิติแห่งชาติ) • เป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี ๒๕๖๘ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีประชากรวัยสูงอายุมากที่สุดถึงเกือบ ๑ ใน ๓ ของประชากรสูงอายุทั้งประเทศ
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม (มหิดล) ปี 2555 • ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ 12.59 มากที่สุดในกลุ่มประเทศอาเซียน ขณะที่สิงคโปร์ มีสัดส่วนผู้สูงอายุ ร้อยละ 12.25 และเวียดนาม ร้อยละ 8.53 • ธันวาคม 55 ประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุ 8,837,144 คน โดยแบ่งเป็นผู้สูงอายุที่มีสิทธิ 30 บาท 6,771,516 ล้านคน สิทธิสวัสดิการข้าราชการ 2,065,628 คน คาดว่าปี 2568 จะเพิ่มเป็น 14.5 ล้านคน มีการเตรียมการรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ที่จะมีค่าใช้จ่ายด้านรักษาพยาบาลมากขึ้นตามอายุที่มากขึ้น • ข้อมูลบัญชีรายจ่ายสุขภาพของประเทศไทย ปี 2555 พบว่ามีค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพ ประมาณการณ์ 4.3 แสนล้านบาท ซึ่งในจำนวนนี้มีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุมีจำนวน 1.4 แสนล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30 ของค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพ
สถานการณ์ที่ท้าทาย • คนไทยได้รับการพัฒนาศักยภาพทุกช่วงวัยแต่มีปัญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปัญญาของเด็ก พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ และผลิตภาพแรงงานต่ำ • ประชาชนได้รับการคุ้มครองทางสังคมเพิ่มขึ้นและมีการจัดสวัสดิการทางสังคมในหลายรูปแบบ แต่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสยังไม่สามารถเข้าถึงบริการทางสังคมได้อย่างทั่วถึง
สถานการณ์ที่ท้าทาย • โครงสร้างครอบครัวเปลี่ยนไปสู่ครัวเรือนที่อยู่คนเดียว ครัวเรือนที่อยู่ด้วยกันแบบไม่ใช่ญาติ • ครัวเรือนที่มีอายุรุ่นเดียวกัน สองรุ่น และรุ่นกระโดด (ตายาย-หลาน) สัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัวมีความเปราะบางจนนำไปสู่ปัญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น ปรากฏการณ์เด็กหญิงแม่ • อัตราการหย่าร้างเพิ่มขึ้นจาก ๔.๕ คู่ต่อพันครัวเรือน ในปี ๒๕๔๕ เป็น ๕.๕ คู่ต่อพันครัวเรือน ในปี ๒๕๕๓ ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงทางเพศต่อเด็กและสตรีเพิ่มขึ้น
สถานการณ์ที่ท้าทาย • กลุ่มวัยสูงอายุ แม้จะมีอายุยืนยาวขึ้นแต่ประสบปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น • กลุ่มวัยสูงอายุเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น โดยพบว่า ร้อยละ ๓๑.๗ ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง รองลงมาคือ เบาหวาน ร้อยละ ๑๓.๓ และหัวใจ ร้อยละ ๗.๐ • คนไทยส่วนใหญ่ยังมีปัญหาเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ ๕ อันดับแรกสูงขึ้นในทุกโรค ทั้งโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงหลอดเลือดในสมอง โรคหัวใจ และมะเร็ง • ผลต่อภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของภาครัฐในอนาคต
พฤติกรรมการกิน “น้ำอัดลมสีดำ 1 กระป๋องมีน้ำตาล 8.5 ช้อนชา น้ำสี 10.25 ช้อนชา และน้ำใส 11.5 ช้อนชา” น้ำตาลจำนวนมากในน้ำอัดลม เมื่อเด็กๆ ดื่มเข้าไปจะเปลี่ยนเป็น ไขมันสะสมในช่องท้อง ระยะยาวจะนำไปสู่การเจ็บป่วยด้วยโรคอ้วน และโรคร้ายอย่างเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งจะทำให้เด็กอายุสั้นลง ถึง 10-20 ปี น้ำอัดลมเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเด็กๆ แต่กลับยังคงถูกวางขาย ให้ลูกหลานเรากินได้อย่างเสรี และไม่มีขีดจำกัด นับแต่ปี 2551 "เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน" ได้พยายาม รณรงค์ผลักดัน ให้โรงเรียนหลายแห่งเปลี่ยนตัวเอง เป็น “เขตปลอดน้ำอัดลม” ซึ่งได้รับความร่วมมือ เกิดเป็น โรงเรียนปลอดน้ำอัดลมเพิ่มขึ้นถึง 10,000 โรงทั่วประเทศ “เขตปลอดน้ำอัดลม” ทำให้เด็กๆ ดื่มน้ำอัดลมน้อยลง แต่ทว่ายังมีโรงเรียนอีกกว่า 40,000 แห่งทั่วประเทศ ที่ยังอนุญาตให้ขายน้ำอัดลมในโรงเรียน เพราะไม่มีกฎข้อบังคับใดๆ ห้ามไว้
เขาคือใคร อย่าไปกลัวเวลาที่ฟ้าไม่เป็นใจ อย่าไปคิดว่ามันเป็นวันสุดท้ายน้ำตาที่ไหลย่อมมีวันจางหาย หากไม่รู้จักเจ็บปวดก็คงไม่ซึ้งถึงความสุขใจ แต่ถ้าวันหนึ่งวันไหน ที่ใจเจ็บทนทุกข์ ดังพายุที่โหมเข้าใส่บอกกับตัวเองเอาไว้ ความเจ็บต้องมีวันหาย ไม่ต่างอะไรที่เราต้องเจอทุกฤดู ในวัย 42 ปี เกือบเป็นผู้ป่วยอัมพาต
การจัดการสุขภาพ โรงพยาบาล 2-10% 10-20% รพ. สต. ใคร 60-80%
ความเป็นมาของการจัดกองทุนความเป็นมาของการจัดกองทุน การพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จากอดีต ถึง ปัจจุบัน
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีความครอบคลุม ร้อยละ 99.02 จากพื้นที่/ท้องถิ่น 7,776 แห่ง
โครงการสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ตั้งแต่ปี 2549-2556 รวม 347,369 โครงการ
การทำแผนกองทุน ที่มาที่ไป สปสช.แจ้งทำแผนก่อนรับงบ สค.56-พย.56 ตค.54-พค.55 ตค.55-มค.56
สถานการณ์การจัดทำแผนปี 56 ถ ข้อมูล ณ 15 มกราคม 56
สถานการณ์เงินกองทุน (31 ธค 2555)
สถานการณ์การเบิกจ่ายเงินกองทุนปี 2556 ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 56
ผลการประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นผลการประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ที่มา;http://www.nhso7kkn.info/fund/
ข้อค้นพบจากพื้นที่ • การจัดทำแผนขาดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ยังคงเป็นแผนที่ต่างหน่วยต่างทำ ขาดการใช้ข้อมูลด้านสุขภาพมาประกอบการทำแผน • มีเงินเหลือค้างในกองทุน เพราะผู้รับผิดชอบไม่สามารถปฏิบัติตามแผนงานโครงการที่ได้รับอนุมัติ • โครงการส่วนใหญ่เป็นโครงการจัดอบรมให้ความรู้แต่ขาดการสะท้อนและคืนข้อมูลให้ประชาชนรับทราบถึงผลที่เกิดขึ้น ทำให้เกิดความไม่เข้าใจ และไม่เห็นประโยชน์ในการทำโครงการนั้น • มีโครงการที่เป็นข้อห้ามในการใช้งบกองทุน โดยเป็นโครงการที่มีลักษณะของการจ่ายแจก โดยไม่มีกิจกรรมที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (แว่นแก้วผู้สูงอายุ/ โครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า) • โครงการในหมวดที่ 3 ยังขาดการสนับสนุนให้องค์กรประชาชนที่มีศักยภาพในพื้นที่เป็นผู้รับผิดชอบ (ประชาชนไม่พร้อม เขียนโครงการไม่ได้)
ข้อค้นพบจากพื้นที่ • การเปลี่ยนแปลงของประธานกองทุนฯ ทำให้กองทุนไม่สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่อง หยุดชะงัก หรือช้า • ยังไม่เข้าใจในการแยกประเภทกิจกรรมการดำเนินงานทำให้แผนส่วนใหญ่จึงเป็นแผนงานประจำที่ทำในหน่วยบริการขาดการกระจายเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ ในชุมชน • ขาดการสนับสนุนติดตามจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสะท้อนข้อมูลผลการบริหารกองทุนให้ชัดเจนอย่างต่อเนื่อง
ข้อค้นพบจากพื้นที่ • การสนับสนุนงบประมาณให้หน่วยงานราชการอื่น เพื่อดำเนินการ • การทำบัญชีรับ-จ่ายไม่เป็นปัจจุบัน • หลักฐานการเบิกจ่ายเงินไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง • การประชุมกรรมการกองทุนฯ ไม่ต่อเนื่อง • ขาดการติดตามและประเมินผลโครงการถ้ามีการประเมินจะมีลักษณะการประเมินความพึงพอใจในการจัดทำโครงการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ของแผนงานสนับสนุนระบบสุขภาพชุมชนแผนที่ยุทธศาสตร์ของแผนงานสนับสนุนระบบสุขภาพชุมชน ชุมชน ท้องถิ่นเข้มแข็งจัดการสุขภาพและพึ่งตนเองได้ Vision ชุมชน ท้องถิ่นมีสุขภาพดีแบบองค์รวม ผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแล Goal สนับสนุน อปท.เข้าร่วมดำเนินการกองทุน สร้างสุขภาวะโดยมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน กระจายอำนาจให้ อปท.จัดการระบบสุขภาพ ติดตามประเมินผลลัพธ์(Health outcome) Strategy พัฒนาระบบข้อมูลการดำเนินงานกองทุน ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการเพิ่มขึ้น การสนับสนุนงบประมาณที่เพียงพอต่อการบริหารจัดการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมในการดำเนินการเพิ่มขึ้น คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ มีความเข้มแข็ง ธรรมาภิบาลเพิ่มขึ้น บริหารจัดการความรู้ การสร้างนวัตกรรมสร้างสุขภาพของชุมชน Objectives (Strategic outcomes) ปรับปรุงหลักเกณฑ์ แนวทางการดำเนินงานกองทุน การวิจัยเพื่อการพัฒนากองทุน ถอดบทเรียนเพื่อประเมินคุณภาพกองทุน ภาคีเครือข่ายสุขภาพ บูรณาการการทำงานร่วมกันเพิ่มขึ้น สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างท้องถิ่น จัดให้มีการเจรจา หารือ แลกเปลี่ยนกับองค์กรปกครองท้องถิ่นที่ยังไม่เข้าร่วมดำเนินการกองทุน (โดยเฉพาะ กทม./บางเขต) พัฒนารูปแบบ วิธีการมีส่วนร่วมในการจัดการกองทุนโดยภาคประชาชน ประชาสังคม อปท. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูลประชุมคณะกรรมการข้อมูล เพื่อการกำกับติดตามผลการดำเนินงาน จัดทำแผนการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการและ งบพัฒนาศักยภาพกองทุน Action plan ประชาสัมพันธ์กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.-เทศบาล จัดให้มีการวิจัยเพื่อการพัฒนา และถอดบทเรียนเพื่อประเมินคุณภาพ จัดเวทีการแลกเปลี่ยนระหว่างส่วนกลาง-เขต-อปท.-นักวิชาการ-หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการการทำงานร่วมกับภาคีสุขภาพ (พื้นที่ เป้าหมาย งบประมาณ)
แผนที่ยุทธศาสตร์ของแผนงานสนับสนุนระบบสุขภาพชุมชนแผนที่ยุทธศาสตร์ของแผนงานสนับสนุนระบบสุขภาพชุมชน ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ 1. ร้อยละของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.-เทศบาลที่กิจกรรมดูแลผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ คนพิการ 2. ร้อยละของกองทุนที่มีแผนสุขภาพชุมชน แผนที่ยุทธศาสตร์ที่ชุมชน ภาคประชาชน เข้าร่วมจัดทำแผน 3. ร้อยละของการเกิดศูนย์เรียนรู้ต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในระดับชุมชน 4.ร้อยละของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เทศบาลระดับ A+, A ปัจจัยสร้างความสำเร็จ (KSF) 1.ผู้บริหารของ อบต./เทศบาลมีความสนใจ สนับสนุนการดำเนินงานกองทุนอย่างเข้มแข็ง 2.ประชาชน ชุมชนในพื้นที่มีส่วนร่วมดำเนินการกองทุนเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของทุกกลุ่มเป้าหมาย 3. หน่วยงานบริการสุขภาพในพื้นที่ร่วมมือดำเนินงานกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ KPI KSF
ขอบคุณ สวัสดีครับ • dusit.s@nhso.go.th • 084-7001667
กรณีจ่ายขาดจากกองทุนให้โครงการกรณีจ่ายขาดจากกองทุนให้โครงการ • โครงการ • สัญญา mou • ใบเสร็จรับเงิน/ใบสำคัญรับเงิน • สรุปผลการดำเนินงาน