530 likes | 1.08k Views
มาเรียนรู้เรื่องการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมกันเถอะ. (ในการจัดการบริหาร) (ในการเรียนการสอน). ทุกวันนี้ ท่านมีปัญหาอะไร ?. บอกหน่อยได้ไหม. ท่านเคยแก้ปัญหานั้นอย่างไร เคยรวบรวมผลการแก้ปัญหานั้น ๆ หรือไม่ สิ่งที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ เพียงใด และอะไรคือสิ่งยืนยัน.
E N D
มาเรียนรู้เรื่องการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมกันเถอะมาเรียนรู้เรื่องการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมกันเถอะ
(ในการจัดการบริหาร)(ในการเรียนการสอน)(ในการจัดการบริหาร)(ในการเรียนการสอน) ทุกวันนี้ท่านมีปัญหาอะไร ?
บอกหน่อยได้ไหม • ท่านเคยแก้ปัญหานั้นอย่างไร • เคยรวบรวมผลการแก้ปัญหานั้น ๆ หรือไม่ • สิ่งที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ เพียงใด และอะไรคือสิ่งยืนยัน
นำกลุ่มคำต่อไปนี้ไปแต่งประโยคให้ได้ใจความนำกลุ่มคำต่อไปนี้ไปแต่งประโยคให้ได้ใจความ • เพิ่มประสิทธิภาพ • เทคนิควิธีการ • สื่อ • คิดค้น • ดัดแปลง • ปรับปรุง
ความหมาย การคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง สื่อ เทคนิค วิธีการ กิจกรรม เพิ่มประสิทธิภาพงาน
ประเภท • แบ่งตามลักษณะของนวัตกรรม * สื่อ – อุปกรณ์ * เทคนิค วิธีการ
แบ่งตามกลุ่มผู้ใช้ * ครู * นักเรียน
ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ * วัสดุ * อุปกรณ์ * กระบวนการ/วิธีการ
หลักจิตวิทยา สอดคล้องกับความวัย / ความสนใจ การเลือกนวัตกรรม ทฤษฎี/หลักการสอน สอดคล้องกับธรรมชาติวิชา ประเภทของนวัตกรรม สอดคล้องกับสภาพปัญหา
กระบวนการสร้างนวัตกรรมกระบวนการสร้างนวัตกรรม • ศึกษาหลักสูตร/เอกสาร • ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฏี • ออกแบบ กำหนดรายละเอียด • สร้างนวัตกรรม
ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ • ปรับปรุง / ทดลองใช้ • ปรับปรุง / นำไปใช้จริง • เผยแพร่
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วีดิทัศน์ สื่อมัลติมีเดีย ชุดการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมประเภทสื่อการสอน
ชุดฝึกเสริมทักษะ/แบบฝึกทักษะชุดฝึกเสริมทักษะ/แบบฝึกทักษะ • หนังสือส่งเสริมการอ่าน • บทเรียนการ์ตูน • บทเรียนโปรแกรม
รูปแบบ ???? รูปธรรมของความคิดที่เป็นนามธรรม ซึ่งบุคคล แสดงออกมาในลักษณะลักษณะหนึ่ง เช่น เป็น คำอธิบาย เป็นแผนผัง ไดอะแกรม หรือ แผนภาพ เพื่อช่วยให้ตนเองและบุคคลอื่นสามารถ เข้าใจได้ชัดเจนขึ้น
ตัวอย่างนวัตกรรม ประเภทรูปแบบและวิธีการ • รูปแบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพนักเรียนที่มีปัญหาในการเรียนรู้ (LD) • กระบวนการบริหารจัดการสู่การเรียนรู้แบบโครงงาน • รูปแบบการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของนักเรียน โรงเรียน.................... • การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้กิจกรรม รวมใจ บ้าน ครู อุ้มชูศิษย์ โรงเรียน......
ตัวอย่างนวัตกรรม ประเภทรูปแบบและวิธีการ • การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ • การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน • การจัดกิจกรรมค่าย • การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษา • การเรียนรู้และการประเมินสภาพจริง
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม(Participatory Learning) การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมพหุปัญญา การสอนแบบกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation Instructional Model) สอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน การพัฒนาลักษณะการคิดแบบต่าง ๆ
การสอนแบบกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model) • การสอนแบบนำเสนอมโนทัศน์กว้างล่วงหน้า (Advance Organizer Model) • การสอนโดยใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizer Model) • การสอนโดยการสร้างเรื่อง (Storyline Model)
การสอนแบบกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model) • การสอนตามวัฎจักรการเรียนรู้ 4 MAT • การสอนแบบเปิด (Open Approach) • การสอนแบบซิปปา (CIPPA Model)
รูปแบบการเรียนการสอนการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบการเรียนการสอนการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning)
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ • Jigsaw • Student Team Achievement Division (STAD) • Team Assisted Indevedualization (TAI) • Learning Together (L.T) • Group Investigation (G.I)
การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ รวมช่วงชั้นในโรงเรียนขนาดเล็ก การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโครงการตามแนว พระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสร้างฝัน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ • สื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาตาม แนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนากระบวนการสร้างความรู้ของผู้เรียนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ การพัฒนากระบวนการสร้างความรู้ของผู้เรียนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ • สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ • ชุดการสร้างความรู้ที่พัฒนาตามแนว ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม และคุณภาพของเครื่องมือวัด
วิธีการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม วิธีการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม • หาค่าประสิทธิภาพจากผู้เชี่ยวชาญ (ค่า IOC) • หาจากผู้เรียน - ค่าประสิทธิภาพกระบวนการ/ประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ เทียบกับเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 = 80/80 - ทดสอบค่าเฉลี่ยก่อน กับ หลังการใช้นวัตกรรม โดยการทดสอบค่าที (t-test)
วิธีการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมวิธีการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม • โดยผู้เชี่ยวชาญ
การประเมินคุณภาพนวัตกรรมโดยผู้เชี่ยวชาญการประเมินคุณภาพนวัตกรรมโดยผู้เชี่ยวชาญ
IOC= R N เมื่อ IOC= ค่าดัชนีความสอดคล้องของนวัตกรรมกับจุดประสงค์ ในการพัฒนา R = ผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N = จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
ค่า IOC ที่เหมาะสม มีค่าตั้งแต่ .50 ขึ้นไป
การหาประสิทธิภาพของสื่อโดยการทดลองใช้การหาประสิทธิภาพของสื่อโดยการทดลองใช้ • การทดลอง 1 : 1 • การทดลอง 1 : 10 • การทดลอง 1 : 100
การหาค่า E1/E2 และค่า E.I( Efficiency และ Effectiveness Index) • E1= ประสิทธิภาพของกระบวนการ • E2= ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ • E.I= ค่าดัชนีประสิทธิผล
X1 N E1 = X 100 A เมื่อ E1 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ X1 = คะแนนรวมของนักเรียนทุกคนที่ได้จากการทำ แบบทดสอบระหว่างเรียน N = จำนวนนักเรียน A = คะแนนเต็มของแบบทดสอบระหว่างเรียน
X2 N E2 = X 100 B เมื่อ E2 = ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ X2 = คะแนนรวมของนักเรียนทุกคนที่ได้จากการทำ แบบทดสอบหลังเรียน N = จำนวนนักเรียน B = คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
E.I. = Posttest Score - Pretest Score Maximum Possible Score – Pretest Score Posttest Score = คะแนนทดสอบหลังเรียนที่ผู้เรียน ทุกคนทำได้Pretest Score = คะแนนทดสอบก่อนเรียนที่ผู้เรียน ทุกคนทำได้Maximum Possible Score = คะแนนสูงสุดที่เป็นไปได้
ค่า E1/E2 ที่นิยมคือ 80/80 • ตั้งค่ายอมรับความ ผิดพลาดที่ร้อยละ 2.5 • ค่า E.I. ยิ่งมีค่าใกล้ 1.00 แสดงว่าสื่อมีประสิทธิภาพ
การสร้างเครื่องมือวัดและการหาคุณภาพการสร้างเครื่องมือวัดและการหาคุณภาพ
ประเภทของเครื่องมือ • แบบตรวจสอบรายการ • แบบสอบถามความคิดเห็น • แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ • การสังเกต/การสัมภาษณ์
การสร้างแบบทดสอบ • วิเคราะห์เนื้อหา/จุดประสงค์ • กำหนดระดับพฤติกรรมย่อย • เลือกรูปแบบ • สร้างแบบทดสอบตามโครงสร้าง
การหาคุณภาพของเครื่องมือวัด การหาคุณภาพของเครื่องมือวัด • ความตรง • ความเชื่อมั่น • ความเป็นปรนัย • อำนาจจำแนก • ประสิทธิภาพ
การตรวจสอบความตรงของเนื้อหา โดยการหาค่าIOC(Index of consistency) • ทำตารางวิเคราะห์เนื้อหา/จุดประสงค์ และพฤติกรรมย่อย • ให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 – 5 คนตรวจสอบ • วิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้อง
สูตรในการคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้องสูตรในการคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC = R N เมื่อ IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้องมีค่าอยู่ระหว่าง - 1 ถึง + 1 R หมายถึง ผลรวมของการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ N หมายถึง จำนวนผู้เชี่ยวชาญ ค่า IOC ต้องอยู่ระหว่าง 0.5 - 1
เลือกให้เหมาะสม พัฒนาตามกระบวนการ สรุป มีสิ่งยืนยัน นำไปใช้ตามวัตถุประสงค์ แสดงผลการใช้อย่างเป็นวิทยาศาสตร์
นายวิชัย กันหาชนศึกษานิเทศก์วิทยฐานะศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ081-7398994e-mail:wichai.2006@yahoo.co.th