1 / 176

ศศ361 วิชาเศรษฐศาสตร์การขนส่ง บทที่ 5 อุปสงค์การขนส่ง

ศศ361 วิชาเศรษฐศาสตร์การขนส่ง บทที่ 5 อุปสงค์การขนส่ง. โดย อ.ฑีฆา โยธาภักดี. รายละเอียด. 5.1 วิธีการศึกษาตัวแบบอุปสงค์การขนส่ง 5.2 อุปสงค์ของการเดินทางทางอากาศ 5.3 อุปสงค์สำหรับการเป็นเจ้าของรถยนต์ 5.4 ตัวแบบประมาณปริมาณผู้โดยสาร. 5.1 วิธีการศึกษาตัวแบบอุปสงค์การขนส่ง.

Download Presentation

ศศ361 วิชาเศรษฐศาสตร์การขนส่ง บทที่ 5 อุปสงค์การขนส่ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศศ361 วิชาเศรษฐศาสตร์การขนส่งบทที่5 อุปสงค์การขนส่ง โดย อ.ฑีฆา โยธาภักดี

  2. รายละเอียด • 5.1 วิธีการศึกษาตัวแบบอุปสงค์การขนส่ง • 5.2 อุปสงค์ของการเดินทางทางอากาศ • 5.3 อุปสงค์สำหรับการเป็นเจ้าของรถยนต์ • 5.4 ตัวแบบประมาณปริมาณผู้โดยสาร www.themegallery.com

  3. 5.1 วิธีการศึกษาตัวแบบอุปสงค์การขนส่ง • วัตถุประสงค์เบื้องต้นของการวิเคราะห์อุปสงค์การขนส่ง หมายถึง ความสามารถที่จะกำหนดรูปแบบของอุปสงค์เพื่อการทำนายในอนาคต โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากในอดีตเพื่อแสดงหาความสัมพันธ์ การวิเคราะห์สมการเส้นถดถอย (Regression Analysis) www.themegallery.com

  4. กรณีที่ 1 หลักอุปสงค์ทั่วไป Model ต้นแบบ • Dx = f(Px, P1, P2,…,Pn,Y) • Dx= อุปสงค์ของสินค้า X • Px= ราคาของสินค้า X • P1, …,Pn= ราคาของสินค้าชนิดอื่นๆ • Y = ระดับรายได้ www.themegallery.com

  5. ตัวแปรอิสระ • ราคา ในที่นี้ไม่ได้หมายความถึงเพียงค่าโดยสาร แต่รวมถึงต้นทุนอื่นๆ ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบริการขนส่งด้วย • การรอคอย • ความปลอดภัย www.themegallery.com

  6. กรณีที่ 2 นักเศรษฐศาสตร์ใน USA ทำการศึกษาอุปสงค์ของสินค้าและบริการรวมทั้งการขนส่งด้วย พบว่า การใช้จ่ายสำหรับรถยนต์ใหม่และการซื้อรถยนต์ที่ใช้แล้ว อธิบายได้โดยปัจจัยเหล่านี้ • 1. ค่าใช้จ่ายสำหรับรถยนต์ต่อหัวในปีที่ผ่านมา www.themegallery.com

  7. 2. สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นในค่าใช้จ่ายของบุคคลต่อหัวในช่วงที่ผ่านมา • 3. ยอดรวมของการใช้จ่ายของบุคคลต่อหัวในปีที่ผ่านมา • 4. Dummy Variable แบ่งเป็นก่อนสงครามโลกและหลังสงครามโลก • Edต่อรายได้ มีค่าเป็นบวก มีความสำคัญ > Edต่อราคา www.themegallery.com

  8. กรณีที่ 3 Houthakker and Taylor มีตัวแปรเพิ่มขึ้น • เช่น ค่าน้ำมัน • ค่าธรรมเนียมในการผ่านด่าน • การประกันภัยรถยนต์ • รถบัส, รถไฟ, รถแท็กซี่ ที่ให้บริการ • รถไฟบริการระหว่างเมือง • การเดินทางทางอากาศ www.themegallery.com

  9. กรณีที่ 4 ตัวแปรอิสระในปัจจุบัน • การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของรายได้ • ลักษณะของการขนส่ง • ความนิยมของผู้ใช้บริการ • ความเจริญทางเศรษฐกิจ • อัตราค่าโดยสารเปรียบเทียบ • กำหนดเวลา • ลักษณะการให้บริการ www.themegallery.com

  10. 5.2 อุปสงค์ของการเดินทางทางอากาศ • กรณีที่ 1 Model ต้นแบบ • D = f(จำนวนประชากร, ระยะทางการเดินทาง) • เพิ่มเติม ตัวแปรอิสระ • 1. ระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทาง • 2. อัตราค่าโดยสาร • 3. จำนวนหมายเลขโทรศัพท์ • 4. จำนวนผู้เข้าพักในโรงแรมของเมืองที่เกี่ยวข้อง www.themegallery.com

  11. กรณีที่ 2 Gravity Model ของนักธุรกิจ • เพิ่มเติมตัวแปร • 1. ผลิตภัณฑ์รายได้ประชาชาติ (GNP) • 2. การค้าระหว่าง 2 ประเทศ • 3. ระยะทาง (ดูจากอัตราค่าโดยสาร, ระยะเวลาเดินทาง) www.themegallery.com

  12. กรณีที่ 3 การวิเคราะห์แบบอนุกรมเวลา (Time Series Data) • D = a - b1Pt + b2Yt + Ut • กำหนดให้ • Dt = อุปสงค์ ณ เวลาที่ t • Pt = ราคาของการเดินทางทางอากาศ ณ เวลาที่ t • Yt= รายได้ ณ เวลาที่ t • Ut = รายการคลาดเคลื่อน www.themegallery.com

  13. Model นี้ควรเพิ่มเติมตัวแปร เช่น • รายได้ของผู้โดยสาร • ราคาของการเดินทาง • การประหยัดเวลาในการเดินทาง • ความสะดวกสบายที่เพิ่มขึ้น • ตารางการให้บริการเดินทาง • การลดลงในการแข่งขันของระบบการขนส่งทางภาคพื้นดิน www.themegallery.com

  14. กรณีที่ 4 จากการศึกษาของ Mutti and Murai • มีความเชื่อว่าการเดินทางโดยเหตุผลส่วนตัวซึ่งมีความยืดหยุ่นต่อค่าโดยสารมากกกว่าการเดินทางเพื่อทำธุรกิจ • ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดความแตกต่างของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ในเส้นทางที่ต่างกัน www.themegallery.com

  15. กรณีที่ 5 จากการศึกษาของ Straszheim • ให้การสนับสนุนความเชื่อในกรณีที่ 4 และได้แยกความยืดหยุ่นออกตามประเภทของบริการขนส่งที่แตกต่างชนิดกัน สรุปได้ดังนี้ • 1. การเพิ่มค่าโดยสารเครื่องบินชั้นหนึ่ง เป็นเรื่องที่สามารถกระทำได้และจะทำให้รายรับรวมเพิ่มขึ้นด้วย แสดงให้เห็นถึงความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่ำ www.themegallery.com

  16. 2. อุปสงค์สำหรับการเดินทางในชั้นประหยัดมีค่าเท่ากับ 1 โดยประมาณ และอุปสงค์ดังกล่าวจะมีระดับสูงสุดในช่วงฤดูท่องเที่ยว • 3. อุปสงค์ของการเดินทางที่เกี่ยวข้องกับค่าโดยสารที่มีส่วนลด หรือเที่ยวบินราคาถูก เพื่อการโฆษณาจะมีความยืดหยุ่นต่อราคาค่อนข้างสูง www.themegallery.com

  17. อุปสงค์สำหรับการขนส่งด้านอื่นๆ • อุปสงค์สำหรับการขนส่งทางเรือ • เช่น เรือขนทราย ขนน้ำตาล ขนผลไม้ ขนน้ำมัน • มีความยืดหยุ่นต่อราคาน้อย เพราะหาบริการอย่างอื่นทดแทนได้ยาก • อุปสงค์สำหรับวัตถุดิบที่ใช้บริการทางเรือ ไม่ค่อยมีความยืดหยุ่น • อัตราค่าระวางมีความสำคัญน้อยมาก ในราคาขั้นสุดท้ายของสินค้าที่ขนส่งทางเรือ www.themegallery.com

  18. อุปสงค์การขนส่งสาธารณะอุปสงค์การขนส่งสาธารณะ • ความยืดหยุ่นต่อราคาของการขนส่งสาธารณะค่อนข้างต่ำ www.themegallery.com

  19. อุปสงค์การขนส่งโดยรถยนต์ส่วนบุคคลอุปสงค์การขนส่งโดยรถยนต์ส่วนบุคคล • ผลการเปลี่ยนแปลงด้านราคา แบ่งเป็น 2 ประเด็น คือ • ผลต่อการเป็นเจ้าของรถยนต์ (Car Ownership) • ผลต่อการใช้รถยนต์เป็นพาหนะเดินทาง (Car Use) • ยกตัวอย่างงานวิจัย UK • Ecar ownership = -0.2 (ดูราคารถยต์) • Ecar use = -0.1 (ดูราคาน้ำมัน) www.themegallery.com

  20. 5.3 อุปสงค์สำหรับการเป็นเจ้าของรถยนต์ • อุปสงค์สำหรับรถยนต์เท่าที่ปรากฏมีทั้งใช้ข้อมูลแบบ Cross Section และ Time Series • จุดประสงค์และจุดเน้นของแต่ละการศึกษาก็แตกต่างกันออกไป โดยปกติการศึกษาระยะสั้นมุ่งวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิด การซื้อรถยนต์ในลักษณะที่แตกต่างไปจากรูปแบบที่คาดหมายไว้โดยมากอาศัยแบบจำลองของการปรับตัวทางด้านสต็อค www.themegallery.com

  21. แบบจำลองของ Silberston • ได้มีการเปรียบเทียบข้อมูลแบบ Cross Section ระหว่างประเทศเพื่อกำหนดว่า • ปัจจัยที่มีอิทธิพลเหนือปริมาณการใช้ หรือ การมีรถยนต์ในประเทศต่างๆ เช่น • จำนวนรถยนต์เฉลี่ยต่อหัวของประชากร • รายได้ที่แท้จริงต่อหัว www.themegallery.com

  22. การมีถนนชั้นดี • ความหนาแน่นของประชากร • ขอบเขตของการเป็นเมือง • ค่าใช้จ่าย • ความยากง่ายของการเป็นเจ้าของรถยนต์ เช่น ราคาของรถยนต์ ค่าใช้จ่ายในการใช้รถยนต์เพื่อเกินทาง การบริการขายผ่อนรถยนต์ www.themegallery.com

  23. 5.4 ตัวแบบประมาณปริมาณผู้โดยสาร • หลัก 2 ประการที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการเดินทางของแต่ละบุคคล • ประการแรก อุปสงค์การเดินทาง (Travel Demand) ไม่เหมือนกับอุปสงค์ในสินค้าทั่วไป แต่เป็นอุปสงค์ต่อเนื่อง (Derive Demand) เช่น การเดินทางไม่ได้เกิดขึ้น เนื่องจากความต้องการเดินทาง แต่เกิดจากความต้องการซื้อสินค้าหรือบริการ www.themegallery.com

  24. ประการที่สอง ในระยะสั้น การตัดสินใจที่จะเดินทางของแต่ละบุคคลขึ้นอยู่กับสถานที่อาศัย สถานที่ทำงาน การมีรถยนต์ส่วนตัว หรือ การใช้ระบบขนส่งชนิดใด ซึ่งขึ้นอยู่กับสถานที่ที่มีอยู่ • สำหรับระยะยาว จะขึ้นอยู่กับสถานที่ การมีรถยนต์ส่วนตัว ปัจจัยที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ และขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของระบบขนส่ง www.themegallery.com

  25. การศึกษาตัวแบบประมาณปริมาณผู้โดยสาร (Model of Passenger Traffic) ได้รวบรวมการตัดสินใจของผู้เดินทางที่จะเกิดขึ้นในการเดินทางว่าไปที่ไหน เมื่อไร และใช้ระบบการขนส่งชนิดใด • โดยขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวกับการเดินทาง เช่น • ระยะเวลาที่ใช้เดินทาง • ค่าโดยสาร • ระดับของบริการในการขนส่ง www.themegallery.com

  26. รูปแบบการพยากรณ์อุปสงค์การเดินทางรูปแบบการพยากรณ์อุปสงค์การเดินทาง • 1.Trip Generation and Attraction เป็นการศึกษาลักษณะความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันของข้อมูลเบื้องต้นในส่วนที่เกี่ยวกับลักษณะการเดินทางกับสภาพแวดล้อมภายในเมือง ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการพยากรณ์ระดับการเดินทาง www.themegallery.com

  27. 2. Trip Distribution เป็นการวิเคราะห์ต่อจากขั้นตอนแรกว่าจำนวนการเดินทางในแต่ละเขตนั้น จะกระจายหรือมุ่งไปสู่ที่ไหนบ้าง www.themegallery.com

  28. 3. Modal Split เป็นการวิเคราะห์ต่อจากขั้นตอนที่สอง ว่าจะมีการใช้ระบบขนส่งชนิดไหน เท่าใด ในแต่ละเส้นทางการขนส่ง www.themegallery.com

  29. 4. การกำหนดเส้นทางขนส่ง (Route Assignment) เป็นกระบวนการในการจัดเส้นทางการขนส่งให้แน่นอนลงไปในระบบขนส่ง และอาจใช้คาดคะเนเส้นทางที่เชื่อมต่อกันของระบบการขนส่งในอนาคตได้ด้วย www.themegallery.com

  30. ข้อสรุป ผลทางการตลาด E 20 • 1. กระตุ้นอุปสงค์การซื้อรถยนต์ของผู้บริโภค เพราะรถยนต์ที่ใช้ E 20 ได้ลดภาษีสรรพสามิต 5% ทำให้รถยนต์จะมีราคาถูกลงตั้งแต่ 30,000-100,000 บาท • 2. กลยุทธ์ราคาของบรรดาค่ายรถ ในปี 2551 จะถูกนำมาใช้เป็นแผนทางการตลาดมากขึ้น • 3. กระตุ้นอุปทานของผู้ประกอบการรถยนต์ หันมาผลิตรถรุ่นประหยัดพลังงานมากขึ้น • 4. ตลาดน้ำมันแก๊สโซฮอล์จะขยายตัวมากขึ้น มีการคาดการณ์ว่า จะมีการใช้มากขึ้นเฉลี่ย สูงสุดจะอยู่ที่ 4 ล้านลิตร/วัน www.themegallery.com

  31. เรื่อง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออุปสงค์การเดินทางทางอากาศผ่านท่าอากาศยานจังหวัดเชียงใหม่ • ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณผู้โดยสาร • สมการที่ใช้วิเคราะห์ • ln(P) = 68.23 + 0.87ln(GDP) – 4.16ln(POP) + • (2.333)* (-1.023) • 0.45ln(VT) + 0.139ln(AXR) – 0.038ln(AT) • (1.518)** (0.951) (-0.276) www.themegallery.com

  32. R2 = 0.9744 • SE = 0.0596 • DW = 1.5527 • หมายเหตุ : ค่าในวงเล็บ คือ t-statistic; n=14(2531-2544) • * Significant at 0.025 level • ** Significant at 0.01 level www.themegallery.com

  33. กำหนดให้ • P= ปริมาณจำนวนผู้โดยสาร (passenger) • GDP = รายได้ประชาชาติในประเทศ (gross domestic product) • POP = จำนวนประชากร (number of population) • VT = จำนวนนักท่องเที่ยวที่มาประเทศไทย (number of visitor) • AXR = อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยเงินบาทต่อเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (average exchange rate) • AT= งบโฆษณาของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (advertising) www.themegallery.com

  34. ผลการศึกษา • รายได้ ปัจจัยที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 • จำนวนนักท่องเที่ยว ปัจจัยที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 • ปัจจัยที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ • อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย • จำนวนประชากร • และงบโฆษณาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย www.themegallery.com

  35. ด้านแนวโน้มปริมาณของผู้โดยสารในปี 2545 นั้น จากการพยากรณ์มีแนวโน้มสูงขึ้นมากกว่าปี 2544 ประมาณร้อยละ 0.029 โดยมีปริมาณผู้โดยสารตลอดทั้งปี 2.21 ล้านคน www.themegallery.com

  36. เรื่อง ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อการให้บริการโดยสารของการรถไฟแห่งประเทศไทยเส้นทางสายเหนือ: กรณีศึกษารถด่วนพิเศษนครพิงค์ • พบว่า การบริการด้านตัวสถานีอยู่ในระดับพอใจปานกลาง ได้แก่ • การให้บริการของพนักงานที่สถานี • ความสะอาดบริเวณสถานี • ความทันสมัยของสถานี • ควรปรับปรุง ด้านความสะอาดของห้องสุขาในบริเวณสถานี www.themegallery.com

  37. บริการด้านความเหมาะสมในการจัดตารางเวลาเดินรถอยู่ในระดับพอใจปานกลาง ได้แก่ • ความเหมาะสมของตารางเวลารถออกจากสถานีเชียงใหม่ • ความเหมาะสมของตารางเวลารถออกจากสถานีกรุงเทพ • ความเหมาะสมของตารางเวลารถถึงสถานีกรุงเทพ www.themegallery.com

  38. บริการด้านตั๋วรถไฟอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ • ความชัดเจนของรายละเอียดในตั๋ว • ความสะดวกในการหาซื้อและจองตั๋วที่สถานี • ความสะดวกในการหาซื้อและจองตั๋วจากตัวแทนจำหน่าย • ควรปรับปรุง ด้านการบริการคืนหรือเปลี่ยนตั๋ว www.themegallery.com

  39. บริการด้านความตรงต่อเวลาของขบวนรถออกจากสถานีอยู่ในระดับพอใจปานกลางบริการด้านความตรงต่อเวลาของขบวนรถออกจากสถานีอยู่ในระดับพอใจปานกลาง • ควรปรับปรุง ด้านความตรงต่อเวลาของขบวนรถถึงสถานีที่หมาย www.themegallery.com

  40. บริการด้านตัวรถโดยสารอยู่ในระดับพอใจปานกลาง ได้แก่ • ระบบปรับอากาศ • ความสะอาดของอุปกรณ์เครื่องนอน • สภาพตัวรถโดยสาร • ควรปรับปรุง ด้านความสะอาดของห้องสุขาในรถโดยสาร www.themegallery.com

  41. บริการด้านตัวรถเสบียงอยู่ในระดับพอใจปานกลาง ได้แก่ • ความสะอาดในการแต่งกายของบริกร • ความสุภาพของบริกร • ควรปรับปรุง รสชาติของอาหาร ราคาอาหารและเครื่องดื่ม www.themegallery.com

  42. บริการด้านการปฏิบัติงานของพนักงานบนรถไฟอยู่ในระดับพอใจปานกลาง ได้แก่ • ความสุภาพในการแต่งกาย • ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ • ความมีน้ำใจเอื้อเฟื้อช่วยเหลือผู้โดยสาร www.themegallery.com

  43. บริการด้านการรักษาความปลอดภัยของตำรวจรถไฟอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ • ความสุภาพเรียบร้อยในการพูดจา • ความมีน้ำใจเอื้อเฟื้อช่วยเหลือผู้โดยสาร • การรักษาความปลอดภัยในการเดินทาง www.themegallery.com

  44. ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเพิ่มเติม ว่าการส่งเสริมการตลาดของรถไฟแห่งประเทศไทยอยู่ในระดับพอใจปานกลาง ได้แก่ • การขายโดยพนักงานขาย • การส่งเสริมการขาย การโฆษณา • การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ • ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าภาพลักษณ์ของการรถไฟแห่งประเทศไทย คือ ปลอดภัย และสะดวกสบาย แต่มักจะล่าช้าเสมอ www.themegallery.com

  45. เรื่อง แบบจำลองการเลือกยานพาหนะแบบบอกซ์-คอกซ์โลจิตสำหรับการขนส่งสินค้าระหว่างเมืองในประเทศไทย • ข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการสร้างแบบจำลอง เป็นข้อมูลที่ได้จากการสำรวจโดยกระทรวงคมนาคมปี 2542 ประกอบด้วย • ปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่างจังหวัด • ข้อมูลจุดต้นทาง-ปลายทางของการขนส่งสินค้าระหว่างคู่จังหวัด www.themegallery.com

  46. สำหรับการขนส่งสินค้าภายในประเทศใน 3 รูปแบบการขนส่งหลัก คือ ทางถนน ทางรถไฟ ทางน้ำบริเวณชายฝั่ง • งานวิจัยได้แบ่งข้อมูลการขนส่งสินค้าออกเป็น 12 ประเภท คือ ข้าว ข้าวโพด ยาง ผลิตภัณฑ์เกษตรอื่นๆ น้ำตาล ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์ซีเมนต์ ผลิตภัณฑ์เคมี ผลิตภัณฑ์โลหะ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อุปกรณ์และเครื่องจักรอุตสาหกรรม วัสดุก่อสร้าง www.themegallery.com

  47. จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกรูปแบบยานพาหนะขนส่งสินค้า ได้แก่ • ประเภทสินค้าขนส่ง • ระยะทางขนส่ง • ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง • ระยะเวลาขนส่ง • จำนวนจุดขนถ่ายสินค้าในคู่จังหวัดขนส่ง www.themegallery.com

  48. พบว่า ในสินค้าขนส่งแต่ละประเภทมีผลต่อสัดส่วนการเลือกที่แตกต่างกัน และในส่วนของตัวแปรที่เหลือ พบว่า • เมื่อตัวแปรดังกล่าวมีค่าเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้แนวโน้มสัดส่วนการเลือกขนส่งสินค้าโดยทางรถบรรทุกลดลง และสัดส่วนการขนส่งโดยทางรถไฟเพิ่มขึ้น แต่ในการขนส่งสินค้าทางเรือนั้น ยังมีแนวโน้มการเลือก เนื่องจากอิทธิพลของปัจจัยดังกล่าวยังไม่ชัดเจน www.themegallery.com

  49. การประยุกต์ใช้ค่าความยืดหยุ่นของแบบจำลองโลจิตมาเป็นดัชนีชี้วัดขนาดของอิทธิพลของปัจจัยที่มีต่อการเลือกรูปแบบยานพาหนะขนส่งสินค้า พบว่า • การเปลี่ยนแปลงของค่าระวางขนส่งสินค้า ส่งผลต่อสัดส่วนการเลือกรูปแบบของการขนส่งสินค้าทางรถไฟ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประมาณ 3-17 เปอร์เซ็นต์ • การเปลี่ยนแปลงจำนวนจุดขนถ่ายสินค้าทางรถไฟในคู่จังหวัดขนส่ง ส่งผลต่อสัดส่วนการเลือกรูปแบบการขนส่งสินค้าทางรถไฟให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประมาณ 6-19 เปอร์เซ็นต์ www.themegallery.com

  50. แบบจำลองที่พัฒนาขึ้นได้มีการนำเสนอตัวอย่างแนวทางการประยุกต์ใช้ เพื่อแสดงให้เห็นถึงประโยชน์และขอบเขตการนำแบบจำลองไปใช้ในงานจริง พิจารณาแบ่งออกเป็น 2 กรณีศึกษา คือ • กรณีที่ 1) การประมาณหาความต้องการขนส่งสินค้าทางรถไฟ เมื่อมีการก่อสร้างขยายเส้นทางโครงข่ายการขนส่งใน 2 เส้นทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ได้แก่ สายเด่นชัย-เชียงราย และสายบัวใหญ่-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม ซึ่งเป็นโครงการที่การรถไฟได้มีการพิจารณาว่าจะดำเนินการก่อสร้าง www.themegallery.com

More Related