570 likes | 953 Views
ผลกระทบจาก FTA ต่อการเกษตร และระบบการศึกษาของไทย. 4 สิงหาคม 2547. Outline. ภาค 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับ FTA FTA คืออะไร ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น ทำไมไทยต้องทำ FTA ไทยได้อะไรจาก FTA ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ ผลกระทบอื่นๆ กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ
E N D
ผลกระทบจาก FTA ต่อการเกษตร และระบบการศึกษาของไทย 4 สิงหาคม 2547
Outline ภาค 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับ FTA • FTA คืออะไร • ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • ทำไมไทยต้องทำ FTA • ไทยได้อะไรจาก FTA • ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผลกระทบอื่นๆ • กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • การเลือกคู่เจรจาพิจารณาจากอะไรบ้าง • ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง คืบหน้าอย่างไร • ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • ภาครัฐมีการเตรียมการในเรื่อง FTA อย่างไรบ้าง • ความคาดหวัง:ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ FTA • การเตรียมความพร้อมของภาคเอกชน ภาค 2 FTA กับการเกษตรและระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา • ความตกลงเกษตร กับ FTA • FTA กับการศึกษา • การเตรียมความพร้อมและมาตรการรองรับ • กรณีตัวอย่าง ออสเตรเลีย/จีน
1. FTA คืออะไร • เขตการค้าเสรี (Free Trade Area-FTA) ประกอบด้วย • สองประเทศขึ้นไป • ตกลงจะทำการค้ากัน • พยายามจะลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด • ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการและการลงทุน
2. ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การเปิดเจรจาการค้ารอบใหม่ของ WTO หยุดชะงัก • “มังกรตื่นจากหลับไหล” • จีนเข้าเป็นสมาชิกของ WTO ทำให้ประเทศต่างๆ เกิดความหวั่นเกรงต่อศักยภาพด้านการแข่งขันของจีน • ขยายอำนาจทางเศรษฐกิจในอนาคต • ความได้เปรียบจาก • ตลาดบริโภคขนาดใหญ่ • แรงงานราคาถูก รองรับการผลิต • มีศักยภาพในการส่งออกสูง
2. ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การทำเขตการค้าเสรีเป็นการให้แต้มต่อ ส่งผลกระทบต่อประเทศที่อยู่นอกกลุ่ม เกิดแรงกระตุ้นทั้งระบบ • ใช้ FTA เป็นวิธีในการ • หาเพื่อน - สร้างพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง • หาตลาด - ขยายการค้าและการลงทุนกับภูมิภาคอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกล • ประเทศที่มีพื้นที่ขนาดเล็กแต่มีระบบเศรษฐกิจที่เปิดเสรีเต็มที่อยู่แล้ว เช่น สิงคโปร์ และชิลี ได้ใช้ยุทธวิธีนี้อย่างแข็งขัน
แนวโน้มการทำเขตการค้าเสรีแนวโน้มการทำเขตการค้าเสรี โลกมีแนวโน้มทำเขตการค้าเสรีมากขึ้น 70% เป็น Bilateral FTAs Source : WTO
3. ทำไมไทยต้องทำ FTA • อยู่นิ่ง เท่ากับ ถดถอย • ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ เช่น สหรัฐ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป ต่างทำFTA • การค้าระหว่างประเทศ มีผลมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย • คิดเป็นร้อยละ 56.4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (2546) • สถานการณ์แข่งขันการค้าโลกรุนแรงและรวดเร็วมากขึ้น • ไทยเสียสิทธิทางภาษีที่เคยได้ เช่น GSP ในขณะที่แอฟริกา และอเมริกาใต้ยังได้อยู่ ไทยเสียเปรียบ และเสียส่วนแบ่งตลาด • “รุก” ในส่วนที่ทำได้ ดีกว่ารอรับอย่างเดียว
เป้าหมายด้านเศรษฐกิจของไทย Trade and Investment Hub in Asia Top 20 World Exporter Top 5 Investment Destination in Asia สร้างฐานเศรษฐกิจที่เข้มแข็งโดย Dual track policies
4. ไทยได้อะไรจาก FTA • ขยายการค้าสู่ตลาดใหญ่ • จีน – 1,300 ล้านคน • อินเดีย – 1,000 ล้านคน • เปิดประตูไปสู่ภูมิภาคอื่นๆ แทนตลาดเดิมที่เริ่มอิ่มตัว • ตะวันออกกลาง - บาร์เรน • อเมริกาใต้ – เปรู
4. ไทยได้อะไรจาก FTA • ยกระดับความสามารถการแข่งขันทางการผลิตของไทย • วัตถุดิบถูกลง • ได้เทคโนโลยีใหม่ๆ • นักลงทุนมีความเชื่อมั่นมากขึ้น • การลงทุนจากต่างประเทศไหลเข้าสู่ไทย • สร้างพันธมิตรที่จะเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจ • เพิ่มอำนาจต่อรองของไทยในเวทีโลก
เป้าหมายการเจรจา • ผลิตภัณฑ์เกษตร • แฟชั่น • ยานยนต์และชิ้นส่วน • อิเล็กทรอนิกส์และอุปโภคบริโภค • เฟอร์นิเจอร์ • สินค้า Electronic Commerce • NTBs • SPS • AD / CVD • RO • TBT • Environment • Others • ท่องเที่ยวและภัตตาคาร • สุขภาพ • ความงาม • บริการธุรกิจ • ขนส่ง / Logistics • ก่อสร้างและออกแบบ • การศึกษา • บริการ • อุตสาหกรรมเกษตร • อุตสาหกรรมแฟชั่น • อุตสาหกรรมยานยนต์ • ICT • บริการ • การลงทุน
5. ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผู้ผลิต • นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก • ต้นทุนการผลิตลดลง • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ผู้ส่งออก • การขยายตลาดและเพิ่มศักยภาพในการส่งออกสินค้าและบริการ
5. ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผู้นำเข้า • นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก • สามารถนำเข้าจากแหล่งนำเข้าจากหลายประเทศ • ผู้บริโภค • ซื้อสินค้าได้ในราคาที่ถูกลง • เลือกซื้อสินค้าได้หลากหลายมากขึ้น
6. ผลกระทบอื่นๆ • ใครเป็นผู้ที่จะเสียประโยชน์ • ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมเกิดใหม่ที่ต้องการการปกป้องจากรัฐบาล • ผู้ผลิตที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่ำ และแข่งขันกับต่างประเทศในระดับต่ำ • อย่างไรก็ตาม การเปิดเสรีไม่ได้ทำในคราวเดียว ผู้ผลิตยังมีเวลาปรับตัว เช่น เรื่องหางนมกับออสเตรเลีย กว่าจะลดภาษีเหลือ 0% ใช้เวลาถึง 20 ปี • มาตรการรองรับปรับตัว
7. กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่สาขาที่ไทยมีความพร้อม และได้เปรียบ • ออกจากธุรกิจที่ไม่มีประสิทธิภาพในการแข่งขันและส่งผลกระทบต่อคนส่วนน้อย หากจำเป็น----รัฐต้องมีมาตรการรองรับที่ชัดเจน • สินค้า • อาหาร (แช่เย็น แช่แข็ง และสำเร็จรูป) • แฟชั่น • เสื้อผ้า อัญมณี เครื่องประดับ เครื่องหนัง • รถยนต์และชิ้นส่วน
7. กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • บริการ • การท่องเที่ยว • ภัตตาคาร โรงแรม การบิน ขนส่งทางอากาศ • การบริการสุขภาพ และ Life Science • โรงพยาบาล การตรวจสุขภาพ การดูแลผู้สูงอายุ สปา การบริการ Long-stay • หมอ พยาบาล ทันตแพทย์ • การวิจัยและพัฒนายา • การก่อสร้าง และออกแบบตกแต่ง • ก่อสร้าง วิศวกรรม สถาปัตยกรรม ออกแบบตกแต่งภายใน ออกแบบเครื่องแต่งกายเครื่องประดับ
8. การเลือกคู่เจรจาพิจารณาจากอะไรบ้าง • ประเทศที่เป็นตลาดดั้งเดิมของไทย • สหรัฐฯ และญี่ปุ่น : ตลาดส่งออกอันดับหนึ่งและสอง • การขยายตลาดใหม่ที่มีศักยภาพ • จีน อินเดีย : จำนวนประชากร , แหล่งวัตถุดิบราคาถูก • ประเทศที่เป็นประตูการค้าและการลงทุน สู่ภูมิภาคต่างๆ • บาร์เรน (ตะวันออกกลาง) • เปรู (อเมริกาใต้)
9. ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง คืบหน้าอย่างไร • คู่เจรจาของไทย • 8 ประเทศ + 1 กลุ่มเศรษฐกิจ (จีน อินเดีย บาห์เรน ออสเตรเลีย สหรัฐฯ ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เปรู และ BIMST-EC) • เจรจาเสร็จแล้ว 1 ประเทศ : ออสเตรเลีย • เริ่มเจรจา ภายในปี 2547 • สหรัฐฯ • ญี่ปุ่น • นิวซีแลนด์ • ลงนามในกรอบความตกลงฯแล้ว อยู่ระหว่างเจรจารายละเอียด • 5 ประเทศ • จีน • บาห์เรน • อินเดีย • เปรู • BIMST-EC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน)
8+1 FTA China USA India Japan Bahrain BIMST-EC Peru Australia New Zealand • Total trade with Thailand 43.8% • Include AFTA 62.5%
FTA Work Plan Jan 04 Apr 04 July 04 Oct 04 Jan 05 Apr 05 July 05 Oct 05 Jan 06 Australia มีผลใช้บังคับ 1 มกราคม 2005 China July 04 (goods) 2005 (services) Bahrain Oct 04 New Zealand Nov 04 05-06 USA Japan Dec 04 Peru Nov 04 BIMST-EC Dec 05 India Jan 06
สาระสำคัญในความตกลง FTA การเปิดตลาดสินค้า (เกษตรและอุตสาหกรรม) - การลดภาษี - มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี - ขบวนการทางศุลกากร - มาตรฐานสินค้า (TBT และ SPS) -แหล่งกำเนิดสินค้า - มาตรการปกป้อง - มาตรการต้อต้านการทุ่มตลาด และตอบโต้การอุดหนุน การเปิดตลาดด้านการค้าบริการและการลงทุน ความร่วมมือทางวิชาการ เรื่องอื่นๆ - ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า - นโยบายการแข่งขัน - การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ - พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - สิ่งแวดล้อม - แรงงาน
10. ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • เร่งมือเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป • กระแสลมของการเปลี่ยนแปลงพัดแรงขึ้นทุกวัน • ไม่เร็วเกินไป เมื่อดูจากกระแสการเปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจโลกยุค “ฟ้าบ่กั้น” (Globalization) ที่มีการจับคู่เศรษฐกิจการค้า และการรวมกลุ่มการค้า เช่น FTAA EU • ถ้ารอช้ากว่านี้ อาจจะเสียมากกว่าได้: จีนกำลังเจรจากับออสเตรเลีย แอฟริกาใต้ จะเจรจากับจีน อินเดีย
10. ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • ถ้ารอให้พร้อม เมือไหร่คือพร้อม ธุรกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและรวดเร็ว ไทยและทุกประเทศไม่มีใครพร้อม 100% และไม่มีวันพร้อมถ้าไม่ลงไปเรียนรู้จากการเข้าไปทำจริง ซึ่งไทยมีความสามารถสูงในการปรับตัว ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
10. ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • การทำ FTA ครอบคลุมทุกสินค้า แต่ไม่ได้หมายถึงต้องเปิดพร้อมกันทุกรายการสินค้า • กลุ่มที่พร้อมก็เปิดก่อน • กลุ่มที่ไม่พร้อมก็เก็บไว้ • อะไรง่ายทำก่อน อะไรยากทำทีหลัง • ปรับโครงสร้างการผลิต เตรียมความพร้อมกลุ่มที่ยาก ในระหว่างนั้น
11. ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมในเรื่อง FTA อย่างไร
ทีม FTA คณะรัฐมนตรี กนศ. คณะเจรจา คณะทำงาน ประสานยุทธศาสตร์ และนโยบายการ เจรจาการค้า ระหว่างประเทศ (ที่ปรึกษารองนายกฯ) (สมพล เกียรติไพบูลย์) คณะทำงาน ติดตามผลการเจรจา (ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี) Australia&NZ การุณ กิตติสถาพร อภิรดี ตันตราภรณ์ Bahrain China สมพล เกียรติไพบูลย์ India & BIMSTEC ปานปรีย์ พหิทธานุกร Japan พิศาล มาณวพัฒน์ Peru กันตธีร์ ศุภมงคล US นิตย์ พิบูลสงคราม
คณะทำงานประสานงานยุทธศาสตร์และนโยบายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศคณะทำงานประสานงานยุทธศาสตร์และนโยบายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ การเปิดตลาดสินค้า กระทรวงพาณิชย์ แหล่งกำเนิดสินค้า กระทรวงการคลัง การลด/เลิกอุปสรรคทางการค้า - มาตรฐานสุขอนามัย - มาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงอุตสาหกรรม การค้าบริการ กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การลงทุน BOI ทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สินทางปัญญา E-commerce กระทรวง ICT
การรองรับผลการเจรจา (Implementation) คณะทำงานรองรับผลการเจรจา ปรับโครงสร้าง เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อรองรับการเปิดเสรี ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านเทคโนโลยี • พัฒนาตลาดเชิงรุก • Thailand Market Place • พัฒนาระบบข้อมูลการตลาด • Marketing Survey • พัฒนาบุคลากร • Inter-trader • พัฒนาสินค้า • Brand image • พัฒนาระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์ • ช่วยเหลือผู้ผลิตที่ได้รับผลกระทบ • กระทรวงเกษตร • กระทรวงอุตสาหกรรม • กระทรวงสาธารณสุข ฯลฯ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการผลิต การบริหาร จัดการ
12. ความคาดหวัง : ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ FTA สร้างภูมคุ้มกันในประเทศให้เข็มแข็ง • ปรับปรุงระบบและลดขั้นตอนการให้บริการของภาครัฐ • มีระบบควบคุมมีระบบเตือนภัย • ปฏิรูปการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • เร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • มีมาตรการส่งเสริมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ • สร้างกลไกประสานความร่วมมือกับภาคเอกชน
ภาค 2FTA การเกษตรและระบบอุดมศึกษา 2.1 FTA กับการเกษตร 2.2 FTA กับระบบอุดมศึกษา
2.1 ความตกลง FTA ที่เกี่ยวกับการเกษตร 1.การเปิดตลาด -ลดภาษีลงเหลือ 0% ภายในเวลาที่ตกลงกัน - มาตรฐานด้านสุขอนามัย (SPS) มาตรฐานสินค้า - การลดการอุดหนุน
วิธีการลดภาษี : แบ่งสินค้าออกเป็น 3-4 กลุ่ม* สินค้าลดภาษีกลุ่มแรก * สินค้าลดปกติ (Normal Track) /สินค้าที่ต้องเจรจา แลกเปลี่ยน * สินค้าอ่อนไหว (Sensitive Track) ใช้เวลาในการ ปรับตัวนาน มีโควตาภาษี * สินค้าที่อ่อนไหวมาก มีมาตรการปกป้องพิเศษ ใช้เวลา ปรับตัวนานมาก
มาตรการ SPS • อิงหลัก WTO • พัฒนาระบบมาตรฐาน SPSในประเทศ • กำหนดมาตรฐานนำเข้า • เจรจาความร่วมมือ : MRA, Equivalency, Expert Group
มาตรการปกป้อง (Safeguards) • สินค้าเกษตรไม่อ่อนไหว – มีมาตรการปกป้อง (Bilateral Safeguards)เพื่อบรรเทาความเสียหาย โดยขึ้นภาษีนำเข้าได้ แต่ต้องพิสูจน์ความเสียหาย • สินค้าเกษตรอ่อนไหว – มีมาตรการปกป้องพิเศษ (Special Safeguards)โดยขึ้นภาษีนำเข้าได้ หากมีการนำเข้ามากเกินเกณฑ์ที่กำหนดในแต่ละปี
13. FTA กับระบบอุดมศึกษา • การเปิดเสรีการค้าบริการ: ด้านการศึกษา • การเรียนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ • ส่งบุตรหลานไปศึกษาต่างประเทศ • ให้ต่างประเทศเข้ามาลงทุน/ร่วมลงทุนในการจัดตั้งมหาวิทยาลัย • ให้อาจารย์ต่างชาติเข้ามาสอนในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย • ให้อาจารย์ไทยไปสอนในมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
13. FTA: บทบาทของระบบอุดมศึกษา • พัฒนาบุคลากร • พัฒนาแรงงานฝีมือ และช่างเทคนิค • พัฒนาแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด • การสอนต้องทันต่อโลก(ที่ไร้พรมแดน และ)เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป • พัฒนาภาษา เพื่อใช้ในการติดต่อกับประเทศที่ทำ FTA (อังกฤษ จีน ญี่ปุ่น สเปน อาราบิค ฯลฯ)
13. FTA: บทบาทของระบบอุดมศึกษา • การผลิต : พัฒนาสินค้า • ศึกษาสินค้าที่ไทยมีศักยภาพในการแข่งขัน • ผลิตสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด • การเก็บรักษาสินค้าหลังเก็บเกี่ยว • การแปรรูปเพิ่มมูลค่า • พัฒนารูปแบบและคุณภาพสินค้า • ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้าให้สูงขึ้นเพื่อเข้าสู่ตลาดระดับบน • ลดการแข่งขันในสินค้าระดับล่าง • สร้าง Brand Nameสินค้าของไทยสู่ตลาดโลก
13. FTA: บทบาทของระบบอุดมศึกษา • ขยายตลาดเชิงรุก • ใช้การตลาดเป็นตัวนำ เกษตรกรต้องรู้จักเรื่องการตลาดด้วย • ขยายช่องทางการตลาดในการเข้าถึงผู้ซื้อโดยตรงมากขึ้น • มีกระบวนการผลิตและการส่งมอบสินค้าอย่างรวดเร็ว • พัฒนาความเข็มแข็งของเกษตรกร • รู้ทันโลก • การรวมกลุ่มเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพ
13. FTA: บทบาทของระบบอุดมศึกษา เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การจัดการ และการดำเนินธุรกิจ • แนะนำการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ • การใช้ระบบ supply chain management • E - commerce • วิจัยและพัฒนา (R&D) • พัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตให้สูงขึ้น 35
กรณีตัวอย่าง • FTA ไทย-ออสเตรเลีย • Early Harvest ไทย-จีน
ตัวอย่างผลการเจรจาการลดภาษีสินค้า ไทย-ออสเตรเลีย จำนวนรายการสินค้าที่มีภาษีเป็นศูนย์ในแต่ละปี (เป็นร้อยละ) พ.ศ. ประเทศ
สินค้านมและผลิตภัณฑ์นม (HS0401-0406) สินค้านมที่มีโควตาภาษี
15,000 TAFTA TAFTA TAFTA 3,523 3,011 2,200 2,547 TAFTA WTO WTO WTO WTO WTO การเปิดตลาดนมผงของไทย
สินค้านมที่ไม่มีโควตาภาษีสินค้านมที่ไม่มีโควตาภาษี
กรณีตัวอย่าง ไทย-ออสเตรเลีย มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช • จัดตั้งExpert Group on SPS and Food Standardsเพื่อแก้ไขปัญหาในเรื่องนี้ให้มีผลลุล่วงใน 2 ปี • สินค้าสำคัญลำดับแรกของไทย มี 9 รายการ คือ มังคุด ลิ้นจี่ ลำไย ทุเรียน สับปะรด เนื้อไก่ กุ้ง มะม่วงและปลาสวยงาม • สินค้าสำคัญลำดับแรกของออสเตรเลีย มี 5 รายการ ได้แก่ ส้มในตระกูลซิตรัส (นาเวล, แมนดาริน, แทงโก้, ส้มโอ)หน่อไม้ฝรั่งมันฝรั่งโคกระบือมีชีวิตและอาหารสัตว์เลี้ยง
การเปิดตลาดด้านการค้าบริการและการลงทุนการเปิดตลาดด้านการค้าบริการและการลงทุน • ครอบคลุมธุรกิจทุกประเภท • ค่อยๆ เจรจาเปิดตลาดในธุรกิจที่มีความพร้อมในทุก 3 ปี • ให้การคุ้มครองและส่งเสริมการลงทุนระหว่างกัน • การเปิดตลาดของไทยแก่ออสเตรเลียมีความสอดคล้องและเป็นไปตามกรอบของกฎหมาย และกฎระเบียบในประเทศที่เป็นอยู่
การเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา:กรณีตัวอย่าง FTA ไทย-ออสเตรเลีย • ให้ออสเตรเลียเข้ามาจัดตั้งมหาวิทยาลัยได้ โดย • ถือหุ้นข้างมากสูงสุด 60% ในปี 2548 • ต้องเป็นสถาบันที่สอนในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวม Life science, bio-technology, nano-technology • ต้องตั้งอยู่นอกกรุงเทพ หรือจังหวัดใหญ่ • สมาชิกของ University Council กึ่งหนึ่งต้องมีสัญชาติไทย • ให้อาจารย์ต่างชาติเข้ามาสอนในมหาวิทยาลัยในประเทศไทยในกรณีที่ได้รับเชิญ หรือว่าจ้าง และต้องมีคุณวุฒิและประสบการณ์
การปรับตัวของไทย • ให้ความสนใจทำการค้ากับออสเตรเลียมากขึ้น ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบสินค้าให้สนองความต้องการของตลาดออสเตรเลีย • พิจารณามาตรการรองรับผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นกับ อุตสาหกรรมภายในประเทศ ได้แก่ การส่งเสริมและปรับปรุง มาตรฐานการเลี้ยงและการลดต้นทุนค่าใช้จ่าย เป็นต้น • ในส่วนมหาวิทยาลัย ต้องพัฒนาระบบ/แผนงานการศึกษา โดยคำนึงถึงการแข่งขันจากภายนอก • หาพันธมิตรร่วมมือในด้านการขยายการค้าและการลงทุน
บทบาทของการศึกษาระดับอุดมศึกษา: กรณีออสเตรเลีย • ศึกษาศักยภาพสินค้าเกษตรของไทย วางแผนการผลิตและการค้าระหว่างประเทศ • ยุทธศาสตร์โคนม โคเนื้อ • พัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรในประเทศ และมาตรฐานนำเข้า :ส้ม ไก่เนื้อ โคเนื้อ นมสด ฯลฯ • ให้การศึกษาในด้าน เพิ่มคุณภาพสินค้า • การขนส่ง Logistic สินค้าเกษตร
สินค้าลดภาษีกลุ่มแรก (Early Harvest) ไทย - จีน • ลงนามความตกลง มีผลบังคับใช้ 1 ตค. 2003 • สินค้าผัก – ผลไม้ (พิกัด 07-08) การจัดทำเขตการค้าเสรี อาเซียน - จีน