280 likes | 388 Views
อนาคตเศรษฐกิจไทย โดย ดร . ธาริษา วัฒนเกส สวนสามพราน วันที่ 28 มิถุนายน 2554. บริบททางเศรษฐกิจในอนาคต. บริบทของเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงมาก บทบาทของจีนและเอเซียสูงขึ้น GDP 2010: U.S. $ 14.6 tril. China 5.9 tril. Japan 5.1 tril.
E N D
อนาคตเศรษฐกิจไทย โดย ดร. ธาริษา วัฒนเกส สวนสามพราน วันที่ 28 มิถุนายน 2554
บริบททางเศรษฐกิจในอนาคตบริบททางเศรษฐกิจในอนาคต • บริบทของเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงมาก บทบาทของจีนและเอเซียสูงขึ้น GDP 2010: U.S. $ 14.6 tril. China 5.9 tril. Japan 5.1 tril. • การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเข้มแข็งขึ้น รวมทั้ง Asian Economic Community (AEC) in 2015
บริบททางเศรษฐกิจในอนาคต (ต่อ) • ความผันผวน ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจสูง จากโลกาพิวัฒน์ ดีมานด์ ซับพลายของสินค้าเปลี่ยนตาม global warming, global awareness, energy availability, technology,etc) • ประชากรสูงวัยมากขึ้น
เศรษฐกิจไทยระยะสั้นมีความแข็งแกร่งเศรษฐกิจไทยระยะสั้นมีความแข็งแกร่ง • ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกเป็นเพียงผลทางอ้อมและสามารถฟื้นตัวได้เร็ว • ภาวะเศรษฐกิจเดือนเมษายน 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงบ้างจากภัยพิบัติในญี่ปุ่น แต่ปัจจัยสนับสนุนยังอยู่ในเกณฑ์ดี • รายได้เกษตรกรดี (เพิ่ม 63% yoy) • ว่างงานต่ำ (0.7%) • รัฐบาลยังคงมีบทบาทในการกระตุ้นเศรษฐกิจ • สินเชื่อยังขยายตัวต่อเนื่อง
เศรษฐกิจไทยระยะสั้นมีความแข็งแกร่ง(ต่อ)เศรษฐกิจไทยระยะสั้นมีความแข็งแกร่ง(ต่อ) • การส่งออกยังขยายตัวสูง (24.7%) • การท่องเที่ยวขยายตัวสูง • คาดว่าเศรษฐกิจขยายตัว 4.1% ในปี 2554 • ปัจจัยที่ต้องระวัง • ภาวะเงินเฟ้อ (คาดการณ์ 3.9% ในปี 2554) • เงินทุนไหลเข้าค่าเงินผันผวน/แข็ง , ฟองสบู่ • ผลกระทบจากการเมือง
แต่มีปัญหาเชิงโครงสร้างในระยะยาวแต่มีปัญหาเชิงโครงสร้างในระยะยาว ความสามารถในการแข่งขันของไทย โครงสร้างประชากรของไทยและปัญหาการขาดแคลนแรงงาน การลงทุนด้านการศึกษาและสาธารณสุข 6
โครงสร้างพื้นฐานเป็นข้อจำกัดในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยโครงสร้างพื้นฐานเป็นข้อจำกัดในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย 7 ที่มา: IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK 1995-2010
ไทยต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอีกหลายด้านไทยต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอีกหลายด้าน 8
การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานของไทยต่ำส่งผลให้ประสิทธิภาพด้าน Logistics ต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ สัดส่วนการลงทุนภาครัฐต่อ GDP การจัดอันดับการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน การจัดอันดับโลจิสติกส์
ทางออกของการลงทุนด้านโลจิสติกส์ทางออกของการลงทุนด้านโลจิสติกส์ • ลงทุนเพิ่มโดยภาครัฐ • ทำ PPP (Private-public partnership) มากขึ้นอย่างโปร่งใส • การร่วมทุนกับต่างประเทศ • ลดผลกระทบจากอำนาจครอบงำ เพิ่มความสามารถในการพึ่งตนเองด้านเทคนิค • การถ่วงดุลระหว่างจีนและญี่ปุ่น • การเมืองต้องตามให้ทันข้อเสนอ ทางเศรษฐกิจ
ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาว ความสามารถในการแข่งขันของไทย โครงสร้างประชากรของไทยและปัญหาการขาดแคลนแรงงาน การลงทุนภาครัฐ: ระดับและประสิทธิภาพ 11
ไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ กำลังแรงงานจะลดลง ปัญหาขาดแคลนแรงงานจะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต
โครงสร้างประชากรไทย ล้านคน ที่มา: การคาดการประชากรของประเทศไทย, สศช. ,2550 หมายเหตุ: * รายจ่ายสวัสดิการรวมรายจ่ายด้านสาธารณสุขและสวัสดิการสังคม
14 จำนวนประชากรวัยแรงงานต่อผู้สูงอายุลดลงต่อเนื่อง สัดส่วน (ร้อยละ) ที่มา : โครงการการออกแบบระบบบำนาญแห่งชาติ คำนวณโดย สศช.
15 ประสิทธิภาพการผลิตของแรงงานในแต่ละช่วงเวลา Source: NSO
ทางออกด้านแรงงาน • เศรษฐกิจไทยไม่อาจพึ่งพาการผลิตที่เน้นใช้แรงงานเมื่อเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ค่าจ้างแรงงานจะสูงขึ้น และไม่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศด้วยค่าแรงราคาถูก • โครงสร้างประชากรและAEC จะส่งผลกระทบต่อแรงงาน จึงต้องเร่งวางแผนรับมือ ทั้งด้านหลักสูตรการศึกษา การพัฒนาทักษะและฝีมือให้สอดคล้องกับความต้องการในอนาคตทั้งในประเทศ และในภูมิภาค • การลงทุนด้านเทคโนโลยีและ นวัตกรรมช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน และศักยภาพของเศรษฐกิจในระยะยาว
ปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาวปัญหาเศรษฐกิจในระยะยาว ความสามารถในการแข่งขันของไทย โครงสร้างประชากรของไทยและปัญหาการขาดแคลนแรงงาน การลงทุนภาครัฐ: ระดับและประสิทธิภาพ 17
ด้านสาธารณูปโภคต้องใช้วงเงินลงทุนอีกจำนวนมากด้านสาธารณูปโภคต้องใช้วงเงินลงทุนอีกจำนวนมาก วงเงินที่ต้องการทั้งหมด 5,505,499 ล้านบาท ประมาณร้อยละ 55 ของ GDP • ทยอยลงทุน 10 ปี ร้อยละ 5.5 ของ GDP ต่อปี • จัดลำดับความสำคัญ * World Bank Database, International Institute for Management Development (IMD), World Metro Database** คำนวณโดยใช้ต้นทุนต่อหน่วยจาก Tito Yepes ( 2005)
ในช่วงที่ผ่านมา รายจ่ายเพิ่มขึ้นมากกว่ารายได้ที่เพิ่มขึ้น อัตราการขยายตัวเฉลี่ยต่อปี (ร้อยละ) หมายเหตุ: 1/ รายจ่ายด้านสวัสดิการ หมายถึงรายจ่ายหมวดการสาธารณสุข รายจ่ายหมวดสังคมสงเคราะห์ และรายจ่ายหมวดการเคหะและชุมชน รวมถึงค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ 2/ รายจ่ายด้านอื่นๆ ได้แก่ รายจ่ายด้านเศรษฐกิจ การบริหารทั่วไป การป้องกันประเทศ การรักษาความสงบภายใน การสิ่งแวดล้อม การศาสนา วัฒนธรรม และนันทนาการ
20 ภาระผูกพันสูงเป็นข้อจำกัดทำให้งบลงทุนน้อยลง สัดส่วนรายจ่ายแต่ละประเภทต่องบประมาณรายจ่ายทั้งหมด • ประเด็นสำคัญ • ควบคุมการใช้จ่าย • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย หมายเหตุ: *ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา และเบี้ยผู้สูงอายุ
ประเมินประสิทธิภาพของการใช้จ่ายประเมินประสิทธิภาพของการใช้จ่าย กรณีตัวอย่าง --การใช้จ่ายด้านการศึกษา --การใช้จ่ายด้านสาธาณสุข
23 ประสิทธิภาพการใช้จ่ายการใช้จ่ายด้านสวัสดิการและการศึกษาเพิ่มขึ้นมาก พันล้านบาท
รายจ่ายด้านการศึกษาของไทยไม่ได้ต่างจากค่าเฉลี่ยในกลุ่มมากนัก แต่จำนวนคนที่เข้าเรียนระดับมัธยมยังน้อยกว่าหลายประเทศ 24
รวมทั้งคุณภาพการศึกษาของไทยค่อนข้างต่ำรวมทั้งคุณภาพการศึกษาของไทยค่อนข้างต่ำ 25
26 งานวิจัยของ ธปท. ในอดีตพบว่า....... การลงทุนด้านการศึกษานั้นต้องให้ความสำคัญในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงที่เด็กมีการพัฒนาการด้านสมองมากที่สุด และการพัฒนาทักษะควรเน้นทั้งทักษะด้านปัญญาและอารมณ์ (cognitive และ non-cognitive skill) เนื่องจากตลาดแรงงานให้ความสำคัญทักษะทั้ง 2 ด้านนี้ไม่แพ้กัน จากสัมมนาวิชาการประจำปี 2549 บทความเรื่อง ทำอย่างไร คนไทยจึงจะแข่งขันได้ในโลกศตวรรษที่ 21 เขียนโดย ดร. กอบศักดิ์ ภูตระกูล ดร. อัศวิน อาฮูยาและ ฐิติมา ชูเชิด
รายจ่ายด้านสาธารณสุขของไทยไม่ได้ต่างจากค่าเฉลี่ยของกลุ่ม แต่คุณภาพยังต้องการการพัฒนา 27
รายจ่ายภาครัฐด้านการศึกษาและสาธารณสุขไทยไม่ได้แตกต่างจากประเทศในกลุ่ม Asia Pacific ปัญหาที่สำคัญอยู่ที่ประสิทธิภาพการใช้จ่าย และการจัดสรรให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
ทางออกด้านการลงทุน • โครงสร้างประชากรที่เข้าสู่วัยผู้สูงอายุมากขึ้น ทำให้แนวโน้มรายจ่ายด้านสวัสดิการเพิ่มขึ้น เมื่อรวมกับงบผูกพันเช่นเงินเดือน บำเหน็จบำนาญ การชำระคืนต้นเงินกู้และดอกเบี้ย ทำให้งบลงทุนลดลงไปมาก • การลงทุนที่ลดลงทำให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยโดยเฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐานอยู่ในระดับต่ำ จึงจำเป็นต้องปฏิรูปโครงสร้างการคลังทั้งรายจ่ายและรายได้ ให้มีความยั่งยืนทางการคลัง • ให้ความสำคัญกับประสิทธิภาพของการใช้จ่าย