290 likes | 407 Views
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย. คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 27 สิงหาคม 254 8. กรอบการบรรยาย. การพัฒนาในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา กรอบแนวคิดและรูปแบบการพัฒนา ผลการพัฒนา. การพัฒนาฯ ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา : 2 ช่วงของการพัฒนา. ช่วงแรก : ช่วงแผนฯ 1- แผนฯ 7 ( พ . ศ . 2504-2539).
E N D
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 27สิงหาคม 2548
กรอบการบรรยาย • การพัฒนาในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา • กรอบแนวคิดและรูปแบบการพัฒนา • ผลการพัฒนา
การพัฒนาฯในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา:2 ช่วงของการพัฒนา ช่วงแรก: ช่วงแผนฯ 1- แผนฯ 7 (พ.ศ. 2504-2539) เศรษฐกิจเป็นตัวนำ สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นตัวตาม ในช่วงแผนฯ 3 และ 4 เริ่มมีการวางแผนด้านสังคม โดยได้กำหนดนโยบายลดอัตราเพิ่มประชากร แผนฯ 7เริ่มกำหนดแนวทางตามแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development)ที่มุ่งเน้นการพัฒนาที่สมดุลใน 3 ด้านคือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม แต่ในทางปฏิบัติลำดับความสำคัญยังค่อนข้างกระจุกตัวในด้านเศรษฐกิจ Top-down Planning by Planner แผนฯ 1-2เทคนิคการวางแผนด้านการวิเคราะห์โครงการ (Project Analysis) แผนฯ 3-4เป็นแผนชี้นำมากขึ้น การวางแผนรายสาขา(Sectoral Planning) แผนฯ 5-6การวางแผนโดยการจัดทำแผนงาน (Programming) แผนฯ 7การพัฒนาแบบองค์รวม
การพัฒนาฯในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา:2 ช่วงของการพัฒนา ช่วงหลัง: ช่วงแผนฯ 8- แผนฯ 9 (พ.ศ. 2540-2549) Bottom-UpPlanning การเปลี่ยนแปลงกระบวนการวางแผนซึ่งสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงแนวคิดการพัฒนาไปสู่เป็นการมุ่งเน้นการพัฒนาให้มีความสมดุลของทุกมิติ “การวางแผนและการกำหนดทิศทางการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชน” การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์การพัฒนา(Paradigm Shift) คนเป็นปัจจัยการผลิต คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา(People Centered Development)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาในด้านต่าง ๆ มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต:ช่วงแผนฯ 8 และ 9 ครอบครัวและชุมชน ฅน การบริหารจัดการ เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ผลการพัฒนาในช่วงที่ผ่านมาผลการพัฒนาในช่วงที่ผ่านมา ที่มา สศช. 1/ ณ ปีสุดท้ายของแต่ละช่วง
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่องผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แต่พื้นที่ป่าไม้ลดลงต่อเนื่อง เศรษฐกิจขยายตัว แต่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม
มีการระดมทุนจากต่างประเทศมากมีการระดมทุนจากต่างประเทศมาก และนำไปใช้ในสาขาที่พึ่งตนเองน้อย GDP % 2528 2542 2551 2538 • เศรษฐกิจเติบโตสูงเฉลี่ย 8% ต่อปี • เก็งกำไรอสังหาริมทรัพย์และตลาดทุน • เปิดเสรีทางการเงิน • การไหลเข้าเงินทุนระยะสั้นสูง • การใช้จ่ายฟุ่มเฟือย • ค่าเงินบาทถูกโจมตี • ปัญหาสถาบันการเงิน • ปัญหาการขาดสภาพคล่อง • เศรษฐกิจหดตัว • ทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง • ภาระหนี้สินและความยากจน เศรษฐกิจฟองสบู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน ปรับตัว 2540 วิกฤติการเงิน
การพัฒนาที่ไม่สมดุล : บทเรียนจากการพัฒนาในอดีต เศรษฐกิจ ขยายตัวแต่ ไม่มีเสถียรภาพ คนรุ่นปัจจุบันใช้ ทุนของคนรุ่นลูกหลาน ทรัพยากร ถูกใช้ ความยากจน กากของเสีย วัตถุนิยม สังคม ขัดแย้งไม่มีความสุข ทั้งกายและใจ ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ถูกทำลายอย่าง รวดเร็ว ขาดจิตสำนึก แย่งชิงทรัพยากร • วัตถุดิบมีปริมาณน้อย • ระบบธรรมชาติบิดเบือน • ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง • คุณภาพชีวิตลดลง • ความขัดแย้งทางสังคม • วัฒนธรรมเสื่อมถอย หนี้ของ คนรุ่นลูกหลาน
เศรษฐกิจไทยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา : ความมั่นคง
โครงสร้างด้านอุปสงค์ในปัจจุบันโครงสร้างด้านอุปสงค์ในปัจจุบัน สัดส่วนการส่งออกสูง ซึ่งสะท้อนว่าการลงทุน การจ้างงาน การใช้จ่าย และกิจกรรมการผลิตที่ต้องขึ้นอยู่กับภาวะการส่งออกมีมาก incomeuncertainty
สัดส่วนการลงทุนภาคเอกชนเพิ่มขึ้นต่อเนื่องนับแต่ปี 2543 *ตัวเลขการลงทุนไม่รวม inventories ที่มา : สศช. 12
ระดับความเปิดของประเทศระดับความเปิดของประเทศ ที่มา : สศช.
โครงสร้างการส่งออกสินค้ารายหมวดโครงสร้างการส่งออกสินค้ารายหมวด ประมาณร้อยละ 80 เป็นการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม และส่งออกสินค้าเกษตรกรรมประมาณร้อยละ 10 ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
ตลาดส่งออกหลักของประเทศไทยตลาดส่งออกหลักของประเทศไทย ตลาดอาเซียนและจีนมีบทบาทมากขึ้นตามลำดับ ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
โครงสร้างการนำเข้าสินค้ารายหมวดโครงสร้างการนำเข้าสินค้ารายหมวด ประมาณร้อยละ 46 เป็นการนำเข้าสินค้าวัตถุดิบ และร้อยละ 30 เป็นการนำเข้าสินค้าทุน ส่วนการนำเข้าเชื้อเพลิงมีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้นตามลำดับ ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
ตลาดนำเข้าหลักของประเทศไทยตลาดนำเข้าหลักของประเทศไทย นำเข้าจากตลาดตะวันออกกลางเพิ่มขึ้นมากจากการนำเข้าน้ำมัน และนำเข้าจากจีนเพิ่มมากจากการทำข้อตกลงทางการค้า ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
โครงสร้างเศรษฐกิจด้านอุปทาน (% GDP): Manufacturing dominate ที่มา : สศช.
Net Flow of FDI to Thailand in industrial sector (Mil.$U.S) ที่มา ธปท.
การกระจายแรงงานในแต่ละสาขาการผลิตการกระจายแรงงานเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการมากขึ้น แต่ส่วนใหญ่ยังอยู่ในภาคเกษตร ร้อยละ
สัดส่วนความยากจนในแต่ละภูมิภาคสัดส่วนคนจนลดลงในทุกภูมิภาค แต่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในช่วงวิกฤต (ร้อยละ)
การจ้างงานในระบบ: ภาคเกษตรแหล่งการจ้างงานหลัก ที่มา การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สสช.
แต่ค่าจ้างเฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่าค่าจ้างเฉลี่ยของประเทศแต่ค่าจ้างเฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่าค่าจ้างเฉลี่ยของประเทศ ที่มา สสช.
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปี 2540 – 41ได้ปรับตัวดีขึ้นตามลำดับตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมา จากการ ดำเนินมาตรการการกระตุ้นเศรษฐกิจ (โครงการมิยาซาว่า งบประมาณค่าใช้จ่ายสำรองตุ้นเศรษฐกิจ) การเร่งรัด การดำเนินงานของบริษัทบริหารสินทรัพย์ไทย การสร้างบรรยากาศการลงทุนโดยการปฏิรูปและ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เป็นรูปธรรม รวมถึงการจัดตั้งกองทุน Matching Fundฯลฯ ที่มา : สศช. ธปท. กระทรวงพาณิชย์
ผลกระทบจากวิกฤตที่ยังมีอยู่และต้องแก้ไขต่อไปผลกระทบจากวิกฤตที่ยังมีอยู่และต้องแก้ไขต่อไป สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP NPLs ต่อสินเชื่อรวม และ NPA หนี้สาธารณะต่อ GDP ลดลงจากช่วงวิกฤต แต่ยังทรงตัวในระดับสูงเมื่อเทียบกับช่วงก่อนวิกฤต Q1 = 43.5% NPL ลดลงมากจากช่วงวิกฤต แต่เพิ่มขึ้นในปี 2546 และค่อนข้างทรงตัวในปี 2547 NPA นอกจากนั้นทรัพย์สินที่รอ การขาย เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง NPL ที่มา : ธปท.
ผลกระทบจากวิกฤตที่ยังมีอยู่และต้องแก้ไขต่อไปผลกระทบจากวิกฤตที่ยังมีอยู่และต้องแก้ไขต่อไป การใช้กำลังการผลิต (%) การใช้กำลังการผลิตต่ำลงในช่วงวิกฤตโดยอยู่ในระดับต่ำสุดที่ 54.8 ในเดือนพฤศจิกายน 2541 แม้จะปรับตัวดีขึ้นตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมาแต่ยังอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าช่วงก่อนวิกฤต
บทเรียนจากวิกฤตเศรษฐกิจบทเรียนจากวิกฤตเศรษฐกิจ • การขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยปราศจากคุณภาพ ไม่สามารถยั่งยืนอยู่ได้ • วัฏจักรที่เศรษฐกิจขยายตัวสูงมากๆมักจบด้วยการหดตัวที่รุนแรง • ในยุคโลกาภิวัตน์ ระยะเวลาในการปรับตัวและแก้ไขความผิดพลาดมักจะสั้น • การปล่อยเสรีในการเคลื่อนย้ายเงินทุน จะต้องค่อยเป็นค่อยไปและสอดคล้องกับการปรับตัวของระบบสถาบันและการสร้างวินัยในระบบกรเงินของประเทศ • ประสิทธิภาพของภาคการเงินและภาคการผลิตและบริการ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดและต้องได้รับการพัฒนาไปอย่างสอดคล้องกัน • การขาดการพัฒนาตลาดทุน ที่เหมาะสมกับรูปแบบการลงทุนที่เปลี่ยนไป • การพึ่งพาทุนจากต่างประเทศ มากเกินไป • การขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยไม่มีเสถียรภาพ และการบริหารจัดการเศรษฐกิจมหภาคที่ไม่เหมาะสม
Think Economicand Social Strategy,Think NESDB.... www.nesdb.go.th