1 / 49

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค. กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและ โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก. เนื้อหา.  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค  มาตรฐานคุณภาพการให้บริการวัคซีน  มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค.

carla-wong
Download Presentation

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและ โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก

  2. เนื้อหา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มาตรฐานคุณภาพการให้บริการวัคซีน  มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในแฟ้มงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  3. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นเอง (Active Immunization)  การติดเชื้อตามธรรมชาติ (natural infection)  การให้วัคซีน (immunization) ภูมิคุ้มกันที่ได้รับมา (Passive Immunization) ได้รับภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ ได้รับสารภูมิคุ้มกัน เช่น อิมมูโนโกบุลิน, พลาสมา, เซรุ่ม

  4. ชนิดของวัคซีน

  5. กลุ่มที่ 1 ท็อกซอยด์ (toxoid)  ผลิตโดยนำพิษของแบคทีเรียมาทำให้สิ้นพิษ แต่ยังสามารถ กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้ เช่น วัคซีนคอตีบ วัคซีนบาดทะยัก  ใช้ป้องกันความรุนแรงของโรคที่เกิดจากพิษ (toxin) ของเชื้อแบคทีเรีย แต่ไม่ป้องกันการติดเชื้อ ถ้าเคยฉีดมาแล้วหลายครั้ง หรือร่างกายมีภูมิคุ้มกันสูงอยู่ก่อนแล้ว อาจเกิดปฏิกิริยามากขึ้น ทำให้มีอาการบวม แดง เจ็บบริเวณที่ฉีดและมีไข้ได้

  6. กลุ่มที่ 2 วัคซีนชนิดเชื้อตาย (inactivated หรือ killed vaccine) แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้ 2 กลุ่ม คือ 2.1 วัคซีนที่ทำจากแบคทีเรียหรือไวรัสทั้งตัวที่ทำให้ตายแล้ว (wholecellvaccine หรือ wholevirionvaccine)  ส่วนใหญ่มักจะทำให้เกิดปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีด บางครั้งอาจมีไข้ด้วย อาการมักจะเริ่มหลังฉีด 3-4 ชั่วโมงและจะคงอยู่ประมาณ 1 วัน บางครั้งอาจนานถึง 3 วัน  ตัวอย่างของวัคซีนในกลุ่มนี้ ได้แก่ วัคซีนไอกรน วัคซีนอหิวาตกโรค วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด วัคซีนพิษสุนัขบ้า วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอ วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิดน้ำ

  7. กลุ่มที่ 2 วัคซีนชนิดเชื้อตาย (inactivated หรือ killed vaccine) 2.2 วัคซีนที่ทำจากบางส่วนของแบคทีเรียหรือไวรัส ที่เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกัน (subunit vaccine)  วัคซีนในกลุ่มนี้ มักมีปฏิกิริยาหลังฉีดน้อย  วัคซีนในกลุ่มนี้เช่น วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนฮิบ (Haemophilusinfluenzae type b) วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์ (acellularpertussis vaccine) วัคซีนไข้ทัยฟอยด์ชนิดวีไอ (Vi vaccine) วัคซีนนิวโมคอคคัส

  8. กลุ่มที่ 2 วัคซีนชนิดเชื้อตาย (inactivated หรือ killed vaccine) วัคซีนกลุ่มนี้มักจะต้องเก็บไว้ในตู้เย็น ห้ามเก็บในตู้แช่แข็ง เพราะจะทำให้แอนติเจนเสื่อมคุณภาพ

  9. กลุ่มที่ 3 วัคซีนชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (live attenuated vaccine) ทำจากเชื้อที่ยังมีชีวิตอยู่แต่ทำให้ฤทธิ์อ่อนลงแล้ว เช่น วัคซีนโปลิโอชนิดกิน วัคซีน MMR วัคซีนสุกใส วัคซีน BCG วัคซีนไข้ทัยฟอยด์ชนิดกิน เมื่อให้เข้าไปในร่างกายแล้วจะยังไม่มีปฏิกิริยาทันที มักมีอาการไข้ประมาณ วันที่ 5 ถึงวันที่ 12 หลังฉีด ต้องเก็บไว้ในอุณหภูมิต่ำตลอดเวลา (cold chain) เพราะถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นเชื้อจะตาย การให้วัคซีนจะ ไม่ได้ผล

  10. กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนกลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีน เด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มเป้าหมาย หญิงมีครรภ์ เด็กแรกเกิด เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

  11. วัตถุประสงค์ การกวาดล้างโรคโปลิโอให้หมดไป กำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ให้เหลือไม่เกิน 1 ต่อ 1,000 เด็กเกิดมีชีพรายอำเภอ กำจัดโรคหัดในผู้ป่วย ให้เหลือไม่เกิน 1 ต่อประชากรล้านคน ภายในปี 2563 ลดอัตราป่วย • คอตีบ < 0.015 ต่อประชากรแสนคน (10 ราย) • ไอกรน < 0.08 ต่อประชากรแสนคน (50ราย) • โรคไข้สมองอักเสบเจอี < 0.15 ต่อประชากรแสนคน (90 ราย) อัตราการเป็นพาหะโรคตับอักเสบบี ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี < ร้อยละ 0.25 1 2 3 4 5

  12. มาตรฐานคุณภาพการให้บริการวัคซีนมาตรฐานคุณภาพการให้บริการวัคซีน กระบวนการให้บริการ เตรียมกลุ่มเป้าหมายผู้มารับบริการ คาดประมาณจำนวนผู้มารับบริการในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย วิธีการให้วัคซีน การจัดทำทะเบียนข้อมูลผู้รับบริการ การติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์ การเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉิน การเตรียมการเพื่อกู้ชีพเบื้องต้นแก่ผู้รับวัคซีนกรณีเกิด anaphylaxis การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และยาที่จำเป็นในการกู้ชีพ

  13. วิธีการให้วัคซีน

  14. ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  15. การให้วัคซีน HBกรณีเด็กคลอดจากแม่ที่เป็นพาหะ (HBsAg+ve) HB1 HB2 HB3 HB4 HB5

  16. กำหนดการให้วัคซีนแก่เด็กที่มารับวัคซีนล่าช้า กรณีพลาดการได้รับวัคซีนในช่วงอายุ 1 ปีแรก *ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น * ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อ HIV ที่มีอาการของโรคเอดส์ ** ให้ 2 ครั้ง ห่างกัน 2 สัปดาห์ เพื่อเร่งให้มีภูมิคุ้มกันเร็วขึ้น

  17. หมายเหตุ : • วัคซีนทุกชนิดถ้าไม่สามารถเริ่มให้ตามกำหนดได้ ก็เริ่มให้ทันทีที่พบครั้งแรก • วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า 1 ครั้ง หากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบ้างแล้ว และไม่มารับครั้งต่อไปตามกำหนดนัดให้วัคซีนครั้งต่อไปนั้นได้ทันทีเมื่อพบเด็ก โดยไม่ต้องเริ่มต้นครั้งที่ 1 ใหม่

  18. กราฟแสดงการตอบสนองของภูมิต้านทานกราฟแสดงการตอบสนองของภูมิต้านทาน

  19. การให้วัคซีนในเด็กนักเรียนการให้วัคซีนในเด็กนักเรียน

  20. นักเรียน ป.1 • วัคซีน MMR ทุกคน • วัคซีนบีซีจี มีข้อกำหนดในการให้ดังนี้ •  ถ้าเด็กมีบันทึกประวัติการได้รับวัคซีนในอดีตระบุว่าได้รับวัคซีนบีซีจี (สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กหรือทะเบียน/บัญชีเด็ก) ไม่ต้องให้วัคซีนอีก (ถึงแม้จะไม่มีรอยแผลเป็นจากบีซีจี ก็ตาม) •  หากตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนบีซีจี ในอดีตไม่ได้แต่เด็กมีรอยแผลเป็นบีซีจี ไม่ต้องให้วัคซีนอีก •  ถ้าเด็กไม่มีรอยแผลเป็นจากบีซีจี และไม่มีบันทึกว่าได้รับวัคซีนบีซีจีในอดีตจากสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ต้องฉีดวัคซีนบีซีจี 1 ครั้ง • วัคซีน dT/OPV ให้สอบถามประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต

  21. ข้อพิจารณาในการให้ dT /OPV ป.1

  22. นักเรียน ป.6 วัคซีน dT ทุกคน

  23. การให้วัคซีนในหญิงมีครรภ์การให้วัคซีนในหญิงมีครรภ์

  24. การได้รับวัคซีนป้องกัน dT จำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของวัคซีนบาดทะยัก (DTP-HB/DTP/dT/TT)

  25. วิธีการให้วัคซีน

  26. Oral route

  27. Intradermal

  28. Intradermal

  29. Subcutaneous route

  30. Subcutaneous

  31. Intramuscular route

  32. Intramuscular

  33. ระยะเวลาที่ใช้หลังเปิดขวดวัคซีนระยะเวลาที่ใช้หลังเปิดขวดวัคซีน

  34. หลังเปิดขวด/ ผสมแล้วให้ใช้ภายในเวลา (ชั่วโมง) ภายใน 2 ชั่วโมง BCG ภายใน 6 ชั่วโมง MMR ภายใน 8 ชั่วโมง HB DTP-HB OPV DTP JE dT

  35. เลือกเข็มฉีดยาและไซริงค์เลือกเข็มฉีดยาและไซริงค์ เหมาะสมกับขนาดวัคซีนที่ฉีด และวิธีการให้วัคซีน เข็ม draw วัคซีน ไม่ควรใหญ่กว่าเบอร์ 21 No. 21 No.20 No.18 ขนาด 3 มล. ขนาด 1 มล.

  36. ไซริงค์ขนาด 1 มล. สามารถใช้ได้กับทุกวัคซีน ไซริงค์ขนาด 3 มล. ใช้กับวัคซีนที่มีขนาดต่อโด๊ส ตั้งแต่ 0.5 มล.ขึ้นไป

  37. วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีจำแนกตามสายพันธุ์ ขนาดบรรจุ อายุผู้รับวัคซีนและขนาดฉีด

  38. การเก็บรักษาวัคซีนในขณะให้บริการการเก็บรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ •  ควรให้บริการในที่ร่ม • เก็บวัคซีนในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิอยู่ในช่วง +2 ถึง +8°c • วางขวดวัคซีนให้ตั้งตรง • ห้ามวางขวดวัคซีนสัมผัสกับ ice packหรือน้ำแข็งโดยตรง • ดูดวัคซีนใส่ไซริงค์แล้วให้บริการทันที ห้ามเตรียมไว้เป็นจำนวนมาก • ห้ามมีเข็มปักคาขวดวัคซีน ในระหว่างที่รอให้บริการ วัคซีนเชื้อเป็นชนิดผงแห้งที่ผสมน้ำยาละลายแล้ว ต้องเก็บไว้ไม่ให้ โดนแสง • หลังเปิดใช้แล้วให้เก็บวัคซีนแต่ละชนิด ตามคำแนะนำ

  39. กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

  40. การจัดทำทะเบียนข้อมูลผู้รับบริการการจัดทำทะเบียนข้อมูลผู้รับบริการ *บันทึก ชื่อ นามสกุล อายุ ที่อยู่ ชนิด และ ครั้งที่ได้รับวัคซีนในกลุ่มเป้าหมาย  กลุ่มเด็กแรกเกิด  กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน  กลุ่มนักเรียนชั้น ป.1 และ ป.6  กลุ่มหญิงมีครรภ์

  41. การจัดทำทะเบียนข้อมูลผู้รับบริการการจัดทำทะเบียนข้อมูลผู้รับบริการ *บันทึกเลขที่วัคซีน (lot.no.) และลำดับขวดวัคซีนของผู้รับบริการในแต่ละราย เพื่อใช้ในการตรวจสอบผู้ได้รับวัคซีนร่วมขวดร่วม lot.no. เดียวกัน

  42. การติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์การติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์ • มีทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมายที่เป็นปัจจุบัน • มีการบันทึกวันที่กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนทั้งที่ได้รับจากสถานบริการตนเองและสถานบริการอื่น • มีระบบติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มา

  43. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และยาที่จำเป็นในการกู้ชีพ กรณีเกิด Anaphylaxis หรือมีอาการรุนแรง • ผู้ฉีดวัคซีน ต้องผ่านการอบรมวิธีการกู้ชีพเบื้องต้น • ให้ความรู้และข้อมูลแก่ผู้รับวัคซีน/ผู้ปกครองเด็ก • จัดเตรียมสถานที่ให้ผู้รับวัคซีนพักรอสังเกตอาการ • ให้ผู้รับวัคซีนพักสังเกตอาการ อย่างน้อย 30 นาที • มีแผน/ผัง การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รับวัคซีน กรณีเกิด anaphylaxis หรือมีอาการรุนแรง • มีแผน/ผัง การส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาต่อ

  44. แผนการส่งต่อกรณีเกิด Anaphylaxis ภายหลังได้รับวัคซีน เมื่อเกิดอาการภายหลังได้รับวัคซีนให้แจ้ง ผอ.รพ.สต. ทราบ (คุณ.........โทร.......) เพื่อ 1. ประสานคนขับรถ Refer (คุณ ...... โทร.........) 2. ประสานห้องฉุกเฉิน รพ.......... (โทร.................) 3. ส่งต่อผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่พยาบาล

  45. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และยาที่จำเป็นในการกู้ชีพ กรณีเกิด Anaphylaxis หรือมีอาการรุนแรง • Adrenaline (Epinephrine) • IV Set • Normal saline or Ringer’s Lactate • Ambu Bag • Face mask • Endotracheal Tube (เบอร์ 3.5 or 4 สำหรับเด็ก) • Laryngoscope

  46. Adrenaline (1:1000) ก่อนฉีดทุกครั้งต้องได้รับความเห็นชอบจากแพทย์ก่อน

  47. Ambu bag สำหรับเด็กและผู้ใหญ่ Oxygen face mask สำหรับเด็กและผู้ใหญ่ สำหรับเด็กทารก

  48. อย่างน้อยควรมีเบอร์ 3.5 และ 4.0 Endotracheal tube Laryngoscope Stylet

  49. ขอบคุณค่ะ

More Related