1 / 22

พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม

พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม. ก่อนจะมาเป็น กฎหมายสิ่งแวดล้อม. ความหมายของสิ่งแวดล้อม. สภาพสิ่งแวดล้อม แบ่งได้เป็น 2 ประเภท สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ มีอยู่ 2 ประเภท

Download Presentation

พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อมพัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม ก่อนจะมาเป็น กฎหมายสิ่งแวดล้อม 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  2. ความหมายของสิ่งแวดล้อมความหมายของสิ่งแวดล้อม • สภาพสิ่งแวดล้อม แบ่งได้เป็น 2 ประเภท • สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ • สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น • สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ มีอยู่ 2 ประเภท • สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น– สภาพทางภูมิกายภาพ เช่น ดิน น้ำ แร่ธาตุ ถ่านหิน น้ำมัน อากาศ • สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เช่น พืช และ สัตว์ • สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ถนน อาคาร สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เช่น รถยนต์ คอมพิวเตอร์ สารเคมี 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  3. สิทธิในสิ่งแวดล้อม • คนเรามีสิทธิที่จะใช้ชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ถือเป็น “สิทธิ” • ก่อนหน้าที่เรามีกฎหมายสิ่งแวดล้อม เราจัดการเพื่อคุ้มครอง “สิทธิ” ของเราอย่างไร? • อย่างไรจึงเป็นการใช้ชีวตอยู่อย่างปกติสุข? • ดูจากการใช้ชีวิตอยู่ของคนในสังคม • ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ • ปัจจัยสี่: ที่อยู่อาศัย อาหาร ยา เครื่องนุ่งห่ม • ความปลอดภัยในการทำงาน • ความมั่นคงทางอาหาร • ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  4. วิวัฒนาการของกฎหมายที่ใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อมวิวัฒนาการของกฎหมายที่ใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อม อิทธิพลของหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมสากล เริ่มจากการไม่มีกฎหมายที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมโดยตรง ใช้หลักกฎหมายละเมิดและหลักกฎหมายเรื่องเดือดร้อนรำคาญ (nuisance)เข้ามาแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาเรื่องภาระการพิสูจน์ สร้างหลักกฎหมายเรื่องความรับผิดเด็ดขาดของผู้ประกอบการ สร้างกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การคุ้มครองสวัสดิภาพอนามัยและกฎหมายในการแก้ปัญหามลพิษ (ในยุคทศวรรษที่ 60)

  5. 1. หลักกฎหมายทั่วไปที่นำมาปรับใช้กับกรณีสิ่งแวดล้อม • สิ่งแวดล้อมใน 2 แนวทาง ได้แก่ 1. สิ่งรอบตัวเรา - อากาศ น้ำ แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน รวมไปถึงสุขภาพ และการใช้ชีวิต 2. ทรัพยากรธรรมชาติ – สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ภูมิสภาพทางกายภาพ และสัตว์ พืช  ระบบนิเวศน์ • หลักกฎหมายที่นำมาปรับใช้กับกรณี – 1. กรณีละเมิด 2. กรณีเดือนร้อนรำคาญ (nuisance) 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  6. ละเมิด • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่า ผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  7. มาตรา 448 สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดนั้น ท่านว่าขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือเมื่อพ้นสิบปีนับ แต่วันทำละเมิด 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  8. หลักการ – ทฤษฎีความผิดFault Theory • คนจะรับผิดต่อเมื่อมีความบกพร่อง – มีความผิด • เช่น การจงใจทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย หรือ ทำการโดยประมาทเลินเล่อ • “No Liability without Fault” • เมื่อระบบการผลิตพัฒนาไป ทำให้ความรุนแรงของความเสียหายเพิ่มมากขึ้น แม้จะได้ใช้ความระมัดระวังอย่างดีแล้ว 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  9. No Fault Liability • เมื่อเกิดความเสียหาย ต้องมีผู้รับผิดชอบ • ทฤษฎีความรับผิดเด็ดขาด Strict Liability • เช่น ความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะ ความเสียหายจากการบริโภคสินค้า ความเสียหายจากวัตถุอันตราย • Absolute Liability / No Fault Liability 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  10. No Fault Liability • มาตรา 437 บุคคลใดครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอย่างใด ๆ อันเดิน ด้วยกำลังเครื่องจักรกล บุคคลนั้นจะต้องรับผิดชอบเพื่อการเสียหายอันเกิดแต่ยานพาหนะนั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าการเสียหายนั้นเกิดแต่เหตุสุดวิสัย หรือเกิดเพราะความผิดของผู้ต้องเสียหาย นั้นเอง ความข้อนี้ให้ใช้บังคับได้ตลอดถึงผู้มีไว้ในครอบครองของตน ซึ่งทรัพย์อันเป็น ของเกิดอันตรายได้โดยสภาพ หรือโดยความมุ่งหมายที่จะใช้ หรือโดยอาการกลไกของทรัพย์นั้น ด้วย 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  11. ปัญหาในการใช้กฎหมายเรื่องละเมิดปัญหาในการใช้กฎหมายเรื่องละเมิด • ภาระการพิสูจน์ – ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นต้องนำสืบ • ในเรื่องที่ซับซ้อน เช่น จะรู้ได้อย่างไรเมื่อเราเป็นโรคปอด ว่าสาเหตุมาจากไหน? • ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลของการกระทำ • เช่น การเกิดโรคจากการทำงาน • การที่แหล่งน้ำ เกิดมลพิษ จะรู้ได้อย่างไรว่ามาจากโรงงานไหน? 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  12. Product Liability • ผู้ซื้อต้องระวัง Caveat Emptor • เมื่อสังคมมีการผลิตที่ซับซ้อนมากขึ้น ผู้ประกอบการได้ผลกำไรมหาศาลจากการผลิต • ผู้ขายต้องระวัง Caveat Vender • ความสัมพันธ์บนพื้นฐานของหลักฎหมายเดิม – ละเมิด หรือสัญญา • ถ้าไม่อยู่ภายใต้กฎหมายทั้งสองเรื่องนี้จะทำอย่างไร? • แม่ซื้อนมมาให้ลูกกิน ปรากฎว่านมมีสารปนเปื้อน จะอาศัยหลักกฎหมายเรียกให้รับผิด ชดเชยได้อย่างไร? • ค่าเสียหายในเชิงลงโทษ Punitive Damages 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  13. กรณีเดือนร้อนรำคาญ • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • มาตรา 1337 บุคคลใดใช้สิทธิของตนเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ ได้รับความเสียหาย หรือเดือดร้อนเกินที่ควรคิดหรือคาดหมายได้ว่าจะเป็นไป ตามปกติ และเหตุอันควรในเมื่อเอาสภาพและตำแหน่งที่อยู่แห่งทรัพย์สินนั้นมา คำนึงประกอบไซร้ ท่านว่าเจ้าของอสังหาริมทรัพย์มีสิทธิจะปฏิบัติการเพื่อยัง ความเสียหายหรือเดือดร้อนนั้นให้สิ้นไป ทั้งนี้ไม่ลบล้างสิทธิที่จะเรียกเอาค่า ทดแทน 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  14. หนี้ธรรมดา – บุคคลต้องทนในการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ในหนี้อันคาดหมายได้ของการอยู่ร่วมกัน • หนี้เกินขนาด – เมื่อการกระทำนั้นอยู่เกินไปกว่าสิ่งที่ควรคิดและคาดหมายได้ในการอยู่ร่วมกันอย่างปกติ • ข้อดี – ใช้สามัญสำนึกของคนปกติธรรมดา (วิญญูชน) • ข้อเสีย – จำกัดความคุ้มครองเฉพาะต่อเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  15. ปัญหาของหลักกรรมสิทธิ์ต่อประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อม - แดนกรรมสิทธิ์ • มาตรา 1336 ภายในบังคับแห่งกฎหมาย เจ้าของทรัพย์สินมีสิทธิใช้สอย และจำหน่ายทรัพย์สินของตนและได้ซึ่งดอกผลแห่งทรัพย์สินนั้น กับทั้งมีสิทธิ ติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของตนจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ และ มีสิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วย กฎหมาย • มาตรา 1335 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ หรือกฎหมายอื่น ท่านว่าแดนแห่งกรรมสิทธิ์ที่ดินนั้นกินทั้งเหนือพ้น พื้นดินและใต้พื้นดินด้วย 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  16. ยังมีกฎหมายอีกมากมายที่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น • พรบ.รักษาคลอง ร.ศ. 121 (พ.ศ.2445) • พรบ.สำหรับกำจัดผักตบชวา พ.ศ. 2456 • พรบ.ประมง พ.ศ. 2490 • พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 • พรบ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 • พรบ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 • ข้อสังเกตเกี่ยวกับกฎหมายเหล่านี้ อาจไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมาตั้งแต่ต้น แต่ในภายหลัง มีการใช้เพื่อการรักษาสิ่งแวดล้อม 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  17. ตัวอย่าง พรบ.รักษาคลอง ร.ศ. 121 • มาตรา 6 ถ้า หากว่าสามารถจะทำได้อย่างอื่นแล้ว ห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดเอาหยากเยื่อฝุ่นฝอยหรือสิ่งโสโครกเททิ้งในคลอง และห้ามมิให้เททิ้งสิ่งของดังกล่าวมาแล้วลงในทางน้ำลำคู ซึ่งเลื่อนไหลมาลงคลองได้ ถ้าผู้ใดกระทำผิดต่อมาตรานี้ ให้ปรับผู้นั้นไม่เกิน 20 บาท หรือจำคุกไม่เกินเดือนหนึ่ง หรือทั้งปรับและจำทั้งสองสถาน • มาตรา 9 ห้าม มิให้ผู้หนึ่งผู้ใดกระทำให้คลองและฝั่งคลอง หรือถนนหลวงเสียไปด้วยประการใด ๆ ถ้าผู้ใดกระทำผิดต่อมาตรานี้ ให้ปรับผู้นั้นไม่เกิน 20 บาท หรือจำคุกไม่เกินเดือนหนึ่ง หรือทั้งปรับและจำด้วยทั้งสองสถาน และต้องทำสิ่งซึ่งเสียหายให้คืนดีด้วยอีกโสด 1 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  18. แต่พื้นฐานของกฎหมายต่างๆมักเป็นการกำหนดให้อนุญาตในการใช้ทรัพยากรมากกว่าเป็นการคุ้มครอง/จัดการสิ่งแวดล้อมแต่พื้นฐานของกฎหมายต่างๆมักเป็นการกำหนดให้อนุญาตในการใช้ทรัพยากรมากกว่าเป็นการคุ้มครอง/จัดการสิ่งแวดล้อม • เช่น พรบ.ประมง พ.ศ. 2490 • ม. 12 ที่อนุญาตคือที่จับสัตว์น้ำซึ่งอนุญาตให้บุคคลทำการประมงหรือเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และรวมถึงบ่อล่อสัตว์น้ำ • ม. 13 ห้ามมิให้บุคคลใดทำการประมงหรือเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในที่อนุญาต เว้นแต่ผู้รับอนุญาต 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  19. ม. 14 ห้ามมิให้บุคคลใดขุดหรือสร้างบ่อล่อสัตว์น้ำในที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ • ส่วนในที่ดินอันบุคคลถือกรรมสิทธิ์ บุคคลย่อมขุดหรือสร้างบ่อล่อสัตว์น้ำได้แต่ต้องไม่เป็นการเสียหายแก่พันธุ์สัตว์น้ำในที่รักษาพันธุ์ ปัญหาการพัฒนาพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมตามแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การเพิ่มจำนวนประชากร การขยายตัวของเมือง และวิถีชีวิตสมัยใหม่ - การใช้เทคโนโลยีและสารเคมีทำให้กฎหมายเดิมไม่เพียงพอต่อการรักษาสมดุลในการรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  20. โครงสร้างของระบบกฎหมายโครงสร้างของระบบกฎหมาย มีกฎหมายมากมาย/กระจัดกระจาย กฎหมายว่าด้วยการจัดการทรัพยากร – ที่ดิน, น้ำ กฎหมายกำหนดการจัดการทรัพยสิน - ที่ดิน กฎหมายละเมิดและความรับผิดของผู้ประกอบการ กฎหมายป่าไม้ – อุทยาน, การให้สัมปทานป่าไม้ กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์สัตว์ป่าสัตว์น้ำ พันธุ์พืช กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  21. กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อมกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม • จากเดิมที่ไม่มีแนวคิดในด้านการอนุรักษ์ แต่มีกฎหมายในการจัดการทรัพยากร ที่ดิน สิ่งแวดล้อม • มีกฎหมายป่าไม้ พ.ศ.2484 มีการให้สัปทานป่าไม้ และการทำเหมืองแร่ • เริ่มมีแนวคิดอนุรักษ์จาก นพ.บุญส่ง เลขะกุล ตั้งสมาคมนิยมไพร • การเสนอกฎหมายในการอนุรักษ์สัตว์ป่า พ.ศ. 2503 และต่อมาใน พ.ศ.2504 มีการประกาศใช้กฎหมายอุทยานแห่งชาติ • การมีกระเสอนุรักษ์ใน ช่วง พ.ศ. 2535 จากอิทธิพลของโลกาภิวัตน์ 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

  22. หลักกฎหมายพื้นฐานในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายพื้นฐานในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์จากความเป็นมาและแนวคิดที่ใช้ ระบบศักดินา – ที่ดิน ทรัพยากรผูกติดกับอำนาจการปกครอง การจัดระบบที่ดินเพื่อการเก็บภาษี การมีกรมป่าไม้เพื่อการจัดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่า Public Trust Doctrine หลักสาธารณประโยชน์ อำนาจรัฐในการจัดการทรัพยากร (สาธารณสมบัติให้องค์กรรัฐเป็นผู้ดูแล) อำนาจของประชาชนในมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร Paradigm Shift จากแนวคิดการผลิตแบบเส้นตรง มาสู่ความสัมพันธ์กับวงจรธรรมชาติและชุมชน 2 Development of Law Concerning Environmental Protection

More Related