1 / 18

ความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนในการต่อสู้ภัยวัณโรค

ความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนในการต่อสู้ภัยวัณโรค. ดร.นพ.ณรงค์ วงศ์บา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น 18 เมษายน 2551. ประเด็นสำคัญ (Outline). ความจำเป็นในการสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วน บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง การประยุกต์การแก้ไขปัญหาโรคเอดส์โดยชุมชน

Download Presentation

ความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนในการต่อสู้ภัยวัณโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนในการต่อสู้ภัยวัณโรค ดร.นพ.ณรงค์ วงศ์บา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น 18 เมษายน 2551

  2. ประเด็นสำคัญ (Outline) • ความจำเป็นในการสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วน • บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง • การประยุกต์การแก้ไขปัญหาโรคเอดส์โดยชุมชน สู่การแก้ไขปัญหาวัณโรค • จุดเริ่มต้นในการสร้างความร่วมมือ • เทคนิคในการสร้างความร่วมมือ SXJ

  3. ความจำเป็นในการสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนความจำเป็นในการสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วน • วัณโรคเป็นปัญหาสังคมไทยและเป็นปัญหาไร้พรมแดนของสังคม โลกในกลุ่มคนทุกระดับ • สิ่งสำคัญที่สุดในการแก้ปัญหาวัณโรคคือ “การรับรู้ปัญหาร่วมกัน” • การมีส่วนร่วม (Participation) เป็นวาระสำคัญที่เป็นแนวทางหลักในกระบวนการพัฒนาชุมชน เพื่อให้ร่วมกันคิด และร่วมกันตัดสินใจ • มีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Genuine participation) และลดการมีส่วนร่วมแบบเทียม (Psudo-participation) SXJ

  4. บทบาทภาครัฐในการดูแลผู้ป่วยวัณโรคบทบาทภาครัฐในการดูแลผู้ป่วยวัณโรค • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • โรงพยาบาลเอกชนและรัฐบาล • สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ • ศูนย์สุขภาพชุมชน หรือ สถานีอนามัย • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท) • อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนและแกนนำชุมชน SXJ

  5. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • หน่วยประสานงานทั้งระดับเขต โรงพยาบาลและชุมชน ให้การสนับสนุนทางวิชาการ  สนับสนุนให้โรงพยาบาล สถานีอนามัยเขียนโครงการขอรับการสนับสนุนจาก อปท.  การนิเทศงานในโรงพยาบาลและสถานีอนามัย  การเสนอผลการดำเนินงานวัณโรคให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบอย่างน้อยทุก 3 เดือน SXJ

  6. โรงพยาบาลเอกชนและรัฐบาลโรงพยาบาลเอกชนและรัฐบาล • ทำหน้าที่วินิจฉัยและให้การรักษาแก่ผู้ป่วยวัณโรค  ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค  ประเมินผลการรักษาวัณโรค  จัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมวัณโรคและส่งให้กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด SXJ

  7. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ • ทำหน้าที่หลักในการนิเทศงานสถานีอนามัย  เพื่อมั่นใจว่าผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้งในระยะเข้มข้นและอย่างน้อยเดือนละครั้งในระยะต่อเนื่อง  อบรมเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยขณะนิเทศงาน(On the job training) หากพบว่ามีอุปสรรคในการดำเนินงาน  ร่วมวิเคราะห์สถานการณ์การควบคุมวัณโรคในพื้นที่ SXJ

  8. ศูนย์สุขภาพชุมชน หรือ สถานีอนามัย • ทำหน้าที่หลักในการส่งเสริมสนับสนุนการกินยาที่บ้านผู้ป่วยให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ  เจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านทุกสัปดาห์ในระยะเข้มข้นและอย่างน้อยเดือนละครั้งในระยะต่อเนื่อง  สนับสนุนอาสาสมัครสาธารณสุขปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนการกินยาอย่างมีประสิทธิภาพ SXJ

  9. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท) • สนับสนุนด้านงบประมาณในการดำเนินงานวัณโรค ให้เป็นรูปธรรม  ส่งเสริมให้แกนนำชุมชนเป็นผู้สนับสนุนการกินยาแก่ผู้ป่วยวัณโรค  จัดกิจกรรมรณรงค์วัณโรคเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยวัณโรคกินยาครบในชุมชน  นำเรื่องการควบคุมวัณโรคไว้ในแผนปฏิบัติการด้านสาธารณสุข ของ อปท. SXJ

  10. อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชนอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน • เป็นผู้สนับสนุนการกินยาแก่ผู้ป่วยวัณโรคที่มีความน่าเชื่อถือ  นำยาไปให้ผู้ป่วยที่บ้านทุกวัน  รักษาความลับของผู้ป่วย  สังเกตอาการแพ้ยาวัณโรค และส่งต่อให้สถานีอนามัยหากมีอาการแพ้ยาชนิดรุนแรง  เตือนผู้ป่วยให้ไปตรวจตามนัดที่โรงพยาบาลทุกครั้ง  หากไม่พบผู้ป่วยที่บ้านหรือผู้ป่วยผิดนัด ซึ่งทำให้ผู้ป่วยไม่ได้กินยา ให้โทรแจ้งสถานีอนามัยให้ทราบภายในวันเดียวกัน SXJ

  11. ตัวอย่างบทบาทของผู้เกี่ยวข้อง (I am stopping TB) • คนไข้วัณโรคสามารถลดปัญหาวัณโรคในชุมชนได้ โดยการกินยาทุกมื้ออย่างเคร่งครัด • เจ้าหน้าที่สุขภาพช่วยควบคุมวัณโรคได้ โดยทำให้อัตราการรักษาหายขาดในโรงพยาบาล/อำเภอ/จังหวัด/ประเทศ มากกว่า ร้อยละ 85 • ครูช่วยลดปัญหาวัณโรคได้ โดยให้เด็กเขียนเรียงความเพื่ออธิบายวิธีการต่อสู้ภัยวัณโรค • ชุมชนแก้ปัญหาวัณโรคได้ โดยการประชุมร่วมกัน เพื่อพูดถึงปัญหาวัณโรคในชุมชนและวิธีแก้ปัญหา SXJ

  12. ประสบการณ์ในการมีส่วนร่วมในแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ประสบการณ์ในการมีส่วนร่วมในแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ • โรคเอดส์เป็นตัวอย่างที่ดีซึ่งทุกภาคส่วนมีบทบาทร่วมกัน • การให้ข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างความตระหนัก เช่น มีการสอนเรื่องโรคเอดส์ให้แก่เด็กนักเรียน • มีการรณรงค์อย่างต่อเนื่องและเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การสร้างการยอมรับผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี SXJ

  13. จุดเริ่มต้นในการสร้างความร่วมมือ (1) • ระดมข้อคิดเห็นร่วมกัน เพื่อกำหนดขนาดปัญหา และข้อเสนอแนะการแก้ไข • ศึกษาตัวอย่างในชุมชนอื่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานวัณโรค เช่น เทศบาลตำบลสันมหาพล อ. แม่แตง ซึ่งให้การสนับสนุนด้านแหล่งทุน เชิงนโยบาย และกฏระเบียบต่างๆให้เอื้อต่อการดำเนินงานวัณโรค • ติดตามการเคลื่อนแนวทางแก้ปัญหาสู่การปฏิบัติจริง SXJ

  14. จุดเริ่มต้นในการสร้างความร่วมมือ (2) • เริ่มจากสิ่งที่ง่าย และมีผลสำคัญต่อการบรรลุเป้าหมายการควบคุมวัณโรค เช่น การดูแลกำกับการกินยาทุกมื้อ (DOT) ให้คนไข้วัณโรครายใหม่ชนิดแพร่เชื้อ โดย อสม. หรือ แกนนำชุมชน • โรงพยาบาลเอกชนหลายแห่ง ยินดีให้มีการทำ DOT ในผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ • องค์กรพัฒนาเอกชน ยินดีประสานกับสถานประกอบการในการให้พนักงานที่ป่วยเป็นวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อมีการทำ DOT โดยฝ่ายบุคคล หากผู้ป่วยยินยอม SXJ

  15. เทคนิคการสร้างความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนในการต่อสู้ภัยวัณโรค (1) • เรียนรู้จากผลการปฏิบัติงานที่ดี (good practices) เช่น * อ. เมือง จ. ภูเก็ต ซึ่งมีรพ. ภาครัฐ ภาคเอกชน สถานีอนามัยมีส่วนร่วม * อ. แม่แตง จ. เชียงใหม่ ซึ่งมี รพ. ภาครัฐ สถานีอนามัย อสม. และอปท. มีส่วนร่วม SXJ

  16. เทคนิคการสร้างความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนในการต่อสู้ภัยวัณโรค (2) • เริ่มทำจากโครงการขนาดเล็ก • บันทึก (Documentation) ผลการปฏิบัติงานที่ดี (good practices) หรืออุปสรรคในการปฏิบัติงาน • ส่งเสริมให้เกิดผู้เชี่ยวชาญ (Champion) ในแต่ละภาคส่วน เพื่อให้ข้อชี้แนะ เช่น อปท. แกนนำชุมชน อสม. สอ. สสอ. รพ. เอกชน รพ. รัฐบาล สสจ. สคร. SXJ

  17. สรุป • การควบคุมวัณโรคของประเทศไทยต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน หากส่วนใดอ่อนแอ การดำเนินงานยากที่จะประสบความสำเร็จ • ทุกคนรับรู้ปัญหาร่วมกัน และมีบทบาทสำคัญในการควบคุมวัณโรค • ประสบการณ์จากการควบคุมโรคอื่นๆในชุมชน เช่น โรคเอดส์ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการควบคุมวัณโรค • เทคนิคต่างๆ ในการสร้างความร่วมมือ จำเป็นต้องมีการถ่ายทอดจากโครงการที่ประสบความสำเร็จ เพื่อช่วยให้ผู้ไม่มีประสบการณ์มีความมั่นใจในการดำเนินงาน SXJ

  18. ทุกคนมีส่วนร่วมในการควบคุมวัณโรคทุกคนมีส่วนร่วมในการควบคุมวัณโรค SXJ

More Related