480 likes | 991 Views
บทที่ 3 แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ. อาจารย์ธิดารัตน์ สาระพล. ทรัพยากรสารสนเทศ ( Information Resources ). ทรัพยากรสารสนเทศ ( Information Resources ). ความหมาย
E N D
บทที่ 3 แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ อาจารย์ธิดารัตน์ สาระพล
ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources) • ความหมาย • ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลความรู้ในเรื่องต่างๆ โดยมีลักษณะเป็น ข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข ภาพ เสียง • ดังนั้นทรัพยากรสารสนเทศจึงเปรียบเสมือนตัวกลางที่ใช้ในการแพร่กระจายความรู้ของบุคคลหนึ่งไปยังคนอื่นๆที่ต้องการรับความรู้นั้น
เนื่องจาก เราสามารถรับความรู้ที่บันทึกอยู่ในทรัพยากรสารสนเทศได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ภาพ และเสียง ดังนั้นเราจึงแบ่งทรัพยากรสารสนเทศได้ 3 ประเภทดังนี้ • ทรัพยากรตีพิมพ์ /สื่อสิ่งพิมพ์ • ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์/สื่อไม่ตีพิมพ์ • ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์/สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ทรัพยากรตีพิมพ์/สื่อตีพิมพ์ (Printed Resources) • ความหมาย • หมายถึง สารสนเทศที่บันทึกในสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อกระดาษ ผ่านกระบวนการพิมพ์ เช่น หนังสือ/ตำรา วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย สิ่งพิมพ์รัฐบาล นวนิยาย เรื่องสั้น วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น
หนังสือ • หนังสือทั่วไป (General books) • สามารถแบ่งได้ตามประเภท คือ • แบ่งตามลักษณะการเขียน ได้แก่ • ร้อยแก้ว • ร้อยกรอง • แบ่งตามเนื้อหา • สารคดี • บันเทิงคดี
หนังสืออ้างอิง Reference books ลักษณะของหนังสืออ้างอิง คือ • จัดเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ เพื่อช่วยในการค้นหา • เนื้อหาแต่ละเรื่องกระชับ ชัดเจน เข้าใจทันที • ส่วนใหญ่ผู้เขียนเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ(เฉพาะด้าน) • ส่วนใหญ่ตัวเล่มมีขนาดใหญ่ หรือ เป็นหนังสือชุด(Series) • ส่วนใหญ่ห้องสมุดจะไม่นิยมให้ยืมออก • ส่วนใหญ่เป็นหนังสือราคาแพง หายาก จัดพิมพ์ครั้งเดียว จัดพิมพ์ในวาระพิเศษ
หนังสืออ้างอิง Reference books ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้เป็น • พจนานุกรม(Dictionary) • สารานุกรม(Encyclopedia) • หนังสือรายปี(Yearbook) • นามานุกรม(Directory) • อักขรานุกรมชีวประวัติ(Biographical Dictionary) • หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical sources) • หนังสือบรรณานุกรม(Bibliographies) • หนังสือดรรชนี(Index)
วิทยานิพนธ์ Thesis ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้เป็น • พจนานุกรม(Dictionary) • สารานุกรม(Encyclopedia) • หนังสือรายปี(Yearbook) • นามานุกรม(Directory) • อักขรานุกรมชีวประวัติ(Biographical Dictionary) • หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical sources) • หนังสือบรรณานุกรม(Bibliographies) • หนังสือดรรชนี(Index)
รายงานการวิจัย Research papers ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้เป็น • พจนานุกรม(Dictionary) • สารานุกรม(Encyclopedia) • หนังสือรายปี(Yearbook) • นามานุกรม(Directory) • อักขรานุกรมชีวประวัติ(Biographical Dictionary) • หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical sources) • หนังสือบรรณานุกรม(Bibliographies) • หนังสือดรรชนี(Index)
สิ่งพิมพ์รัฐบาล Government Publications ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้เป็น • พจนานุกรม(Dictionary) • สารานุกรม(Encyclopedia) • หนังสือรายปี(Yearbook) • นามานุกรม(Directory) • อักขรานุกรมชีวประวัติ(Biographical Dictionary) • หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical sources) • หนังสือบรรณานุกรม(Bibliographies) • หนังสือดรรชนี(Index)
นวนิยาย Fiction ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้เป็น • พจนานุกรม(Dictionary) • สารานุกรม(Encyclopedia) • หนังสือรายปี(Yearbook) • นามานุกรม(Directory) • อักขรานุกรมชีวประวัติ(Biographical Dictionary) • หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical sources) • หนังสือบรรณานุกรม(Bibliographies) • หนังสือดรรชนี(Index)
เรื่องสั้น Short Story Collection ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้เป็น • พจนานุกรม(Dictionary) • สารานุกรม(Encyclopedia) • หนังสือรายปี(Yearbook) • นามานุกรม(Directory) • อักขรานุกรมชีวประวัติ(Biographical Dictionary) • หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical sources) • หนังสือบรรณานุกรม(Bibliographies) • หนังสือดรรชนี(Index)
หนังสือเด็ก Children Collection ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้เป็น • พจนานุกรม(Dictionary) • สารานุกรม(Encyclopedia) • หนังสือรายปี(Yearbook) • นามานุกรม(Directory) • อักขรานุกรมชีวประวัติ(Biographical Dictionary) • หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical sources) • หนังสือบรรณานุกรม(Bibliographies) • หนังสือดรรชนี(Index)
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง Periodicals ประเภทของวารสาร แบ่งได้เป็น • วารสารวิชาการ(Journal) • นิตยสาร(Magazine)
หนังสือพิมพ์ Newspaper ประเภทของหนังสือพิมพ์ แบ่งได้ตามลักษณะเนื้อหา คือ • เชิงปริมาณ • เชิงคุณภาพ แบ่งตามกำหนดออก คือ • รายวัน • รายสัปดาห์ • รายกึ่งสัปดาห์
ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์/สื่อไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources) • ความหมาย • บันทึกทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกไว้ในสื่อต่างๆ ที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ และไม่จัดทำเป็นรูปเล่ม
ต้นฉบับตัวเขียน (Manuscript) • ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือที่จัดทำในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยใช้การจาร หรือสลักลงบนวัสดุต่างๆ เช่น สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) แผ่นดินเหนียว แผ่นหนัง ศิลาจารึก เป็นต้น ซึ่งรวมถึงต้นฉบับของผู้เขียนที่อาจเป็นลายมือเขียนหรือเป็นฉบับพิมพ์ ทั้งพิมพ์ด้วยพิมพ์ดีดและเครื่องคอมพิวเตอร์
ต้นฉบับตัวเขียน กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา. (2554). ภาษาสำคัญในอินเดีย. ค้นหาข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://sameaf.mfa.go.th/th/country/south-asia/tips_detail.php?ID=2162&SECTION=40 เครือข่ายกาญจนาภิเษก. (ม.ป.ป.). สมุดไทย/พับสา/หนังสือบุด/สมุดข่อย พระธรรม 7 คัมภีร์. ค้นหาข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://kanchanapisek.or.th/kp8/culture/tak/tak640.html ลักษณะของตัวหนังสือใน "Voynich Manuscript“. (2554). ค้นหาข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://www.mythland.org/v3/thread-4175-1-1.html สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดปัตตานี. (2555). ปัตตานีส่งโคฯ 2475. ค้นหาข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://www.dld.go.th/pvlo_pni/index.php?option=com_content&view=article&id=1048&Itemid=418
โสตวัสดุ (Audio materials) • วัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ เช่น • เทปบันทึกเสียง • แผ่นเสียง
เทปบันทึกเสียง The memory of cassettes. (2551). ค้นข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://dream-pop-art.exteen.com/20070529/the-memory-of-cassettes บันทึกเสียงลงในแถบแม่เหล็ก เรียก “ม้วนเทป” “ตลับเทป”
แผ่นเสียง สถานีวิทยุ วปถ.3 จังหวัดนครราชสีมา. (2554). ประวัติแผ่นเสียงในประเทศไทย. ค้นข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://radio3.exteen.com/20110202/entry-10 แผ่นครั่ง-แผ่นไวนิล ขนาด 10-12 นิ้ว
ทัศนวัสดุ (Visual materials) • วัสดุสารสนเทศที่ต้องใช้สายตาเป็นสื่อในการรับรู้สารสนเทศโดยการดู อาจดูโดยตาเปล่าหรือใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์สำหรับฉายประกอบเช่น รูปภาพ หุ่นจำลอง ลูกโลก แผนที่ สไลด์
ทัศนวัสดุ พิพิธภัณฑ์กายวิภาคศาสตร์ทางสัตวแพทย์ .ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (ม.ป.ป.). กลุ่มที่ 7 คือ กลุ่มที่จัดแสดงสื่อ การสอนประเภทหุ่นจำลอง. ค้นข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://pirun.ku.ac.th/~fvetssr/case4.html มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2551). วัสดุกราฟิกทางการศึกษา. ค้นข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355201/p37-4.html NatchayaSingkum. (2555). แบบฝึกหัดหลักทฤษฎีการสื่อสารกับเทคโนโลยีการศึกษา. ค้นข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://jomnatchayaeng.blogspot.com/2012/06/blog-post_23.html
วัสดุย่อส่วน (Microforms) • เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เทคนิคการถ่ายภาพย่อส่วน จากของจริงลงบนแผ่นฟิล์มหรือวัสดุที่ใช้บันทึกภาพ ประโยชน์ที่ได้คือ เพื่อประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ เมื่อต้องการใช้สารสนเทศ จะต้องนำฟิล์มย่อส่วนนั้นมาเข้าเครื่องอ่าน จึงจะสามารถอ่านได้ และถ้าต้องการทำสำเนาเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ต้องมีเครื่องพิมพ์ หรือเครื่องทำสำเนาภาพจากวัสดุย่อส่วนด้วย
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์/สื่อดิจิทัลElectronic/Digital Resources) • ความหมาย • ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดเก็บสารสนเทศในรูปข้อความ อักษร ภาพ และเสียงไว้โดยการแปลงสารสนเทศให้เป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะต้องมีเครื่องมือสำหรับจัดเก็บและแสดงผลออกมา โดยการแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นสัญญาณภาพและเสียง อีกครั้งหนึ่ง
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Database) • สารสนเทศที่จัดเก็บไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีชุดคำสั่งระบบจัดการฐานข้อมูล ทำหน้าที่ควบคุมการจัดการและการใช้ฐานข้อมูลแบ่งตามลักษณะการใช้งานแบ่งได้ 2 ประเภทคือ ฐานข้อมูลออฟไลน์ และฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งได้เป็น ฐานข้อมูลบรรณานุกรม(bibliography) บทคัดย่อ(Abstract) และฐานข้อมูลฉบับเต็ม(full text)
การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศการเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ • มีความสอดคล้องกับลักษณะของเนื้อหาสารสนเทศที่ต้องการ • ถ้าต้องการสารสนเทศเฉพาะวิชา ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทหนังสืออ้างอิง ตำราและ วารสารวิชาการ มากกว่าประเภทหนังสือทั่วไป และนิตยสาร (Magazine) • หากต้องการสารสนเทศที่แสดงความสัมพันธ์ของเรื่องราวอย่างชัดเจน ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นภาพเคลื่อนไหวเช่น วีดิทัศน์ วีซีดีหรือ ดีวีดี เป็นต้น • หากต้องการฟังการบรรยาย เพลง ดนตรี ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีบันทึกเสียง เช่น เทป ซีดี หรือ วีซีดี เป็นต้น
การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศการเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ • การพิจารณาความน่าเชื่อถือในตัวทรัพยากร พิจารณาจากชื่อเสียง ประสบการณ์หรือคุณวุฒิของ ผู้แต่ง สำนักพิมพ์หรือผู้ผลิตทรัพยากรสารสนเทศ • ความสะดวกในการใช้งาน ทรัพยากรประเภทตีพิมพ์จะสามารถนำมาใช้งานได้ง่ายกว่าทรัพยากรประเภทไม่ตีพิมพ์ หรือทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เพราะสามารถใช้งานได้ทันที ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ในการแสดงผลเหมือนกับทรัพยากรประเภทไม่ตีพิมพ์หรือ ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์
การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศการเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ • ความทันสมัยของเนื้อหา พิจารณาจากเนื้อหาว่า เนื้อหาสารสนเทศที่ต้องการนั้นจำเป็นต้องเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่รวดเร็ว ทันสมัยหรือไม่
จบบทที่ 3 ค่ะ งานกลุ่ม กลุ่มเดิม แนะนำทรัพยากรสารสนเทศ แนะนำแหล่งสารสนเทศ Present