1 / 28

การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5

การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 โดย คณะทำงานข่าวกรอง พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี. ชลิต เข็มมาลัย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี. บทนำ. ประเทศไทยเริ่มพบโรคไข้เลือดออกประปราย

Download Presentation

การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพยากรณ์โรคไข้เลือดออกการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 โดย คณะทำงานข่าวกรอง พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี ชลิต เข็มมาลัย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี

  2. บทนำ • ประเทศไทยเริ่มพบโรคไข้เลือดออกประปราย • ตั้งแต่ปี พ.ศ.2492 • พบการระบาดใหญ่ครั้งแรกในประเทศไทย • ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 • ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมามีการระบาดเพิ่มมากขึ้น • สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย • นับตั้งแต่ ปี 2501-2545 • มีแนวโน้มที่สูงขึ้นมาโดยตลอด พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_1

  3. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี • มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 2 เขตสาธารณสุข • เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4 ประกอบด้วย • จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม • เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 5 ประกอบด้วย • จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ • ทั้งสองเขตเป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก • อย่างต่อเนื่อง • และติดอยู่ใน 10 อันดับแรกของโรคที่ต้องเฝ้าระวัง พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_2

  4. วัตถุประสงค์ • เพื่ออธิบายลักษณะทางระบาดวิทยา • ของโรคไข้เลือดออก • ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 4 และ 5 • เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของโรคไข้เลือดออก • ในปี พ.ศ. 2555 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_3

  5. วิธีการศึกษา • ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา • โดยวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะการเกิดโรค • ในลักษณะของบุคคล เวลา สถานที่ • และปัจจัยด้านเชื้อไวรัส • พยากรณ์แนวโน้มของการเกิดโรค • สถิติชั้นสูงแบบอนุกรมเวลา • (Time Series Analysis) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_4

  6. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา • ข้อมูลผู้ป่วยไข้เลือดออกในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 • จากรายงาน506 ย้อนหลัง 10 ปี • โปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลใช้ข้อมูล • สำเร็จรูปคอมพิวเตอร์ พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_5

  7. ผลการศึกษา พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_6

  8. ลักษณะการเกิดโรคไข้เลือดออกลักษณะการเกิดโรคไข้เลือดออก รูปที่ 1 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้เลือดออกรายจังหวัด เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ปี พ.ศ. 2545 – 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_7

  9. ตารางที่ 1 10 อันดับอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จำแนกตามเขตตรวจราชการ ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2550-2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_8

  10. รูปที่ 2 ร้อยละผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแยกกลุ่มอายุ เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ปี พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_9

  11. รูปที่ 3 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกแยกอาชีพ พื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_10

  12. รูปที่ 4 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปีพื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 (ม.ค.2550 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_11

  13. พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_12

  14. พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_13

  15. การพยากรณ์แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกการพยากรณ์แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2555 ( Time Series analysis ) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_14

  16. รูปที่ 7 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี พื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_15

  17. รูปที่ 8 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดเพชรบุรี 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_16

  18. รูปที่ 9 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดสมุทรสาคร 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_17

  19. รูปที่ 10 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดสมุทรสงคราม 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_18

  20. รูปที่ 11 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดราชบุรี 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_19

  21. อภิปรายผล • รูปแบบ (Pattern) ของการเกิดโรคในรอบ 10 ปี • ตั้งแต่ปี 2545 – 2554 รูปแบบการระบาด 2 ปีเว้น 1 ปี • ในช่วงปี พ.ศ.2550-2554 พบว่ารูปแบบเป็นแบบ 2 ปีเว้น 2 ปี • ปัจจัยอื่น ๆ มาเกี่ยวข้อง เช่น สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ • ที่เปลี่ยนแปลงไป หรือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ • ธรรมชาติของเชื้อโรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_20

  22. อภิปรายผล(ต่อ) • รูปแบบการเกิดโรคในปี 2555 – 2556 อาจมีความแตกต่าง • ไปจากเดิมดังนั้นการพยากรณ์โรคไข้เลือดออกโดยวิธี • การวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้อนุกรมเวลา ( Time Series ) • อาจมีความคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริงได้ • เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4 และ 5 มีอัตราป่วยต่อ • ประชากรแสนคนอยู่ใน 10 อันดับของประเทศเกือบทุกปี • และในปี 2554 และ 2555 ส่วนใหญ่จะพบการระบาดของเชื้อ • ไวรัสทั้งซีโรไทป์ 1, 2 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_21

  23. อภิปรายผล(ต่อ) • ผลจากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าจำนวนผู้ป่วยจากการ • พยากรณ์กับผู้ป่วยจริงจะแตกต่างกันมากหรือน้อยผิดปกติ • จะทำให้การพยากรณ์โรคไม่ได้ผลเนื่องจาก • ขาดความครบถ้วนของการรายงานผู้ป่วย • รายงานไม่ทันเวลา • เมื่อพ้นระยะการเฝ้าระวังโรคแล้วการระบาดยังคงมีอย่างต่อเนื่อง • การพยากรณ์โรคเป็นรายเดือนจำนวนพยากรณ์จะใกล้เคียง • กับผู้ป่วยจริง พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_22

  24. ข้อจำกัด • เรื่องการพยากรณ์โรคเป็นเรื่องใหม่สำหรับเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา • และเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ยากเจ้าหน้าที่มีพื้นฐานความรู้ด้านสถิติ • อาจยังไม่เพียงพอ • ขาดการนำข้อมูลผู้ป่วยทางด้านอายุ เพศ อาชีพ • มาทำการพยากรณ์โรค • ขาดการนำข้อมูลจากรายงานการสอบสวนโรคในบางประเด็น • เช่น ประวัติการเดินทาง กิจกรรมการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย • เป็นต้น • จังหวัดไม่มีส่วนร่วมในการทำพยากรณ์โรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_23

  25. ข้อเสนอแนะ • ควรมีการติดตามประเมินผลการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก • ว่ามีความแม่นยำถูกต้องหรือไม่และควรหาวิธีการพยากรณ์โรค • มาใช้ให้มากขึ้น • ควรมีการจัดอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอย่างต่อเนื่อง • ควรมีการนำข้อมูลด้าน อายุ เพศ อาชีพ ประวัติการเดินทาง • กิจกรรมการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย จะทำการพยากรณ์โรค • มีประสิทธิภาพมากขึ้น • ควรให้จังหวัดมีส่วนร่วมในการทำพยากรณ์โรคอาจจะทำให้ได้ • ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา มากขึ้น พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_24

  26. มาตรการการป้องกันการระบาดของโรคมาตรการการป้องกันการระบาดของโรค • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ควรมีการวิเคราะห์ความเสี่ยง • การเกิดโรคของพื้นที่ โดยใช้ข้อมูลโรค และปัจจัยเสี่ยงของ • การเกิดโรคไข้เลือดออก เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนป้องกันโรค • ก่อนถึงฤดูกาลระบาด • ผู้บริหารหน่วยงานสาธารณสุขติดตามระบบเฝ้าระวังและเร่งรัด • ให้มีการขยายเครือข่ายการเฝ้าระวังโดยชุมชนเพื่อให้มีการแจ้งข่าว • และรับทราบข่าวได้รวดเร็วเพื่อนำไปสู่การควบคุมโรค • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ • ที่มีบทบาทหน้าที่ในด้านการป้องกันควบคุมโรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_25

  27. มาตรการการป้องกันการระบาดของโรค(ต่อ)มาตรการการป้องกันการระบาดของโรค(ต่อ) • ให้ความรู้และสื่อสารความเสี่ยง เช่น อาการไข้สูงควรรีบมารับ • การรักษาสถานบริการของรัฐ เป็นต้นให้ประชาชนได้รับทราบ • อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนัก และให้ความร่วมมือ • ในการป้องกันโรค • เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาควรนำรายงานการสอบสวนโรคมาวิเคราะห์ • จะทำให้ทราบถึงลักษณะการระบาดของโรคเป็นอย่างไร กลุ่มเสี่ยง • ความครอบคลุมของกิจกรรมการควบคุมป้องกันโรค เป็นต้น • พื้นที่ควรนำรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกนำเสนอในที่ • ประชุมระดับจังหวัด อำเภอ อปท. พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_26

  28. สวัสดี

More Related