1 / 5

สรุปสาระสำคัญ

คําสั่งกรมวิชาการเกษตร ที่ 760/2557 เรื่อง การจัดการทําลายหรือดําเนินการกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 17 มิถุนายน 2557. สรุปสาระสำคัญ. 1. คําสั่งนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

Download Presentation

สรุปสาระสำคัญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คําสั่งกรมวิชาการเกษตร ที่ 760/2557เรื่อง การจัดการทําลายหรือดําเนินการกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 17 มิถุนายน 2557

  2. สรุปสาระสำคัญ • 1. คําสั่งนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป • 2. วัตถุอันตรายตามคําสั่งนี้ หมายความว่า วัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตร เป็นผู้รับผิดชอบตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ออกตามความในมาตรา 18 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  3. การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบการนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบ • 1. ให้วัตถุอันตรายไดโครโตฟอส (dicrotophos) และอีพีเอ็น (EPN) ที่อยู่ในความครอบครองของผู้ได้รับใบอนุญาตนําเข้า ใบอนุญาตผลิต หรือใบอนุญาตมีไว้ในครอบครอง ก่อนวันที่ประกาศกําหนดให้วัตถุอันตรายนั้นเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ต้องแจ้งปริมาณที่มีไว้ในครอบครอง ภายใน 7 วัน นับถัดจากวันที่ประกาศกําหนดให้ไดโครโตฟอส (dicrotophos) และอีพีเอ็น (EPN) เป็นวัตถุอันตราย ชนิดที่ 4 มีผลบังคับใช้แล้ว ดังนี้ • 1.1 กรุงเทพมหานคร แจ้งที่สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร • 1.2 ภูมิภาค แจ้งที่ • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จังหวัดขอนแก่น • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดอุบลราชธานี • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 จังหวัดชัยนาท • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จังหวัดจันทบุรี • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 จังหวัดสุราษฎร์ธานี • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 จังหวัดสงขลา

  4. การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบการนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบ • 2. ให้ผู้มีไว้ในครอบครองไดโครโตฟอส (dicrotophos) และ อีพีเอ็น (EPN) ส่งมอบ ไดโครโตฟอส (dicrotophos) และอีพีเอ็น (EPN) ที่อยู่ในครอบครอง ตามข้อ 4 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่แจ้งปริมาณการครอบครอง ดังนี้ • 2.1 กรุงเทพมหานคร แจ้งที่สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร • 2.2 ภูมิภาค แจ้งที่ • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จังหวัดขอนแก่น • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดอุบลราชธานี • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 จังหวัดชัยนาท • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จังหวัดจันทบุรี • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 จังหวัดสุราษฎร์ธานี • สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 จังหวัดสงขลา

  5. จบการนำเสนอ

More Related