1 / 22

การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่

การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่. กรมควบคุมโรค วันที่ 9 มิถุนายน 2554. หัวข้อบรรยาย. สถานการณ์โรค - ไข้หวัดนก,ไข้หวัดใหญ่ ,โรคติดต่ออุบัติใหม่ แนวทาง การเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรค แนวทาง การซักซ้อมหรือฝึกซ้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ในปี 2554

Download Presentation

การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่การป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ กรมควบคุมโรค วันที่ 9 มิถุนายน 2554

  2. หัวข้อบรรยาย สถานการณ์โรค- ไข้หวัดนก,ไข้หวัดใหญ่ ,โรคติดต่ออุบัติใหม่ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรค แนวทางการซักซ้อมหรือฝึกซ้อมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ในปี 2554 ความร่วมมือระหว่างกรมควบคุมโรค กรม ปภ. และ สำนักงาน ปภ. จังหวัด

  3. โรคไข้หวัดนกในคน

  4. 178 / 146 ณ 3 มิถุนายน 54

  5. การควบคุมไข้หวัดนก (H5N1) พ.ศ. 2547- 2554(พค) สาธารณสุข ปศุสัตว์ / ปภ. • สถานการณ์ / ความเสี่ยง • ทั่วโลก ปี 2547- พค 2554 ระบาดในสัตว์ปีกกว่า 65 ประเทศ ผู้ป่วย 553 ตาย 323 ใน 15 ประเทศ • ไทย ในสัตว์ปีกระบาดมาก ปี 2547 – 2549 มีผู้ป่วย 25 ตาย 17 ราย (ม.ค.2547- ส.ค.2549) • เชื้อทั่วโลก แพร่ระบาดโดยการเคลื่อนย้ายของสัตว์ปีกเลี้ยงและนกอพยพ ความเสี่ยงของไทยยังมีอยู่ คนอาจติดเชื้อป่วย ตาย • ผลงาน • ควบคุมโรคได้ดี ไม่มีผู้ป่วยกว่า 5 ปี ลดผลกระทบได้ • ระบบป้องกันการติดเชื้อใน รพ. ได้พัฒนาต่อเนื่อง • ระบบการเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เข้มแข็งขึ้นมาก • มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ จนถึงชุมชน 5 5

  6. เมษายน 2552โลกตระหนกไข้หวัดใหญ่ 2009 ระบาดไปแล้ว 178 cases confirmed to date in Indonesia, 146

  7. 2554 สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ - 1 มิถุนายน 54 2553

  8. โรคติดต่ออุบัติใหม่ (EIDs) หมายถึง โรคติดต่อที่มีการเกิดโรคในมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงที่เพิ่งผ่านมา หรือมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้ • ประเทศไทย ได้พบการระบาดของไข้หวัดนกและไข้หวัดใหญ่ 2009 ดังที่กล่าวมาแล้ว • ยังพบการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่อื่นๆ อีก เช่น โรคชิคุนกุนยา , มือ เท้า ปาก , ไข้กาฬหลังแอ่น , เมลิออยโดสิส , ลีเจียนแนร์ , โบทูลิซึม และแอนแทรกซ์ ฯลฯ เป็นต้น • ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้พบได้ในกลุ่มประชาชนทั่วไปหรืออาจเข้ามากับแรงงานต่างด้าว ทั้งในและต่างประเทศได้

  9. ประเทศไทยควรสนใจโรคใดบ้างประเทศไทยควรสนใจโรคใดบ้าง • การเดินทาง ท่องเที่ยว • ธุรกิจ การค้าขาย • การรุกพื้นที่ป่า ขยายพื้นที่เกษตรกรรม • การอพยพย้ายถิ่น • การบริโภคสัตว์ป่า นำเข้าสัตว์ต่างถิ่น • อื่นๆ โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด ปัจจัย เสริมอื่นๆ ภาวะ โลกร้อน โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด สภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

  10. โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด • มาลาเรีย • ไข้เลือดออก • ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) • ไข้สมองอักเสบ • โรคเท้าช้าง • วัณโรค • ไข้รากสาด • ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม • อาหารเป็นพิษ • อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ • โรคฉี่หนู (leptospirosis) • โรคติดต่อ อื่นๆ • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ • ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ • อุจจาระร่วงอีโคไล O104 • ไข้หวัดนก • โรคซารส์ • กาฬโรค • ลิชมาเนีย • อาวุธชีวภาพ • วัณโรคดื้อยา • เชื้อแบคทีเรียดื้อยา • ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ • โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ

  11. โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด • มาลาเรีย • ไข้เลือดออก • ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) • ไข้สมองอักเสบ • โรคเท้าช้าง • วัณโรค • ไข้รากสาด • ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม • อาหารเป็นพิษ • อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ • โรคฉี่หนู (leptospirosis) • โรคติดต่อ อื่นๆ • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ • ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ • HFMD (EV71) • ไข้หวัดนก • โรคซารส์ • กาฬโรค • ลิชมาเนีย • อาวุธชีวภาพ • วัณโรคดื้อยา • เชื้อแบคทีเรียดื้อยา • ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ • โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ

  12. โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด • มาลาเรีย • ไข้เลือดออก • ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) • ไข้สมองอักเสบ • โรคเท้าช้าง • วัณโรค • ไข้รากสาด • ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม • อาหารเป็นพิษ • อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ • โรคฉี่หนู (leptospirosis) • โรคติดต่อ อื่นๆ • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ • ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ • HFMD (EV71) • ไข้หวัดนก • โรคซารส์ • กาฬโรค • ลิชมาเนีย • อาวุธชีวภาพ • วัณโรคดื้อยา • เชื้อแบคทีเรียดื้อยา • ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ • โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ

  13. ปัญหาโรคระบาดอยู่ที่ไหน?ปัญหาโรคระบาดอยู่ที่ไหน? อยู่ตรงนี้ อยู่ที่คาด.....ไม่ ....... ถึง

  14. ปัญหาโรคระบาดอยู่ที่ไหน?ปัญหาโรคระบาดอยู่ที่ไหน? • คาดไม่ถึง ...จึงหลุด • หลุดวินิจฉัย จึงหาไม่พบ • หลุดรักษา จึงไม่หาย • หลุดควบคุม จึงระบาด • หลุดป้องกัน จึงเกิดซ้ำ • หลุดเตรียมตัว จึงไม่พร้อม

  15. แนวทางการป้องกันควบคุมโรคแนวทางการป้องกันควบคุมโรค ทำอย่างนี้จะดีไหม เพื่อไม่ให้หลุด • ค้นหาให้พบ (Early detection) • ดูแลรักษาให้ปลอดภัย (Effective management and infection control) • รีบเตือนภัย เร่งรายงาน (Early warning / reporting) • เตรียมตัวให้พร้อม (Preparedness planning) • นอกจากนี้ ยังมีอีกไหม?

  16. ระบุความต้องการ การวางแผน การทบทวน วงจรการปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง การประเมินผล การฝึกอบรม/การศึกษา อุบัติการณ์

  17. การระบุความต้องการ รูปแบบการจัดการการฝึกซ้อม (The exercise management model) ประเมินผลการฝึกซ้อม ประเมินความต้องการ บรรยายสรุปการฝึกซ้อมในเชิงลึก ออกแบบการฝึกซ้อม ดำเนินการการฝึกซ้อม

  18. อภิปรายผล (Orientation) ฝึกปฏิบัติการตามบทบาทหน้าที่ (Functional Exercise) ชนิดบนโต๊ะ (Tabletop exercise) ฝึกปฏิบัติการเฉพาะด้าน (Drill) รูปแบบการฝึกซ้อมแผน

  19. วัตถุประสงค์ การฝึกซ้อมแผนของจังหวัด กระบวนการฝึกซ้อมใกล้เคียงกับสถานการณ์จริงและปฏิบัติได้จริง ปรับปรุงแผนปฏิบัติการแบบบูรณาการให้สมบูรณ์มากขึ้น ปรับปรุงกลไกการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เฝ้าระวังควบคุมโรค ประสาน สั่งการ สนับสนุน ทรัพยากร ดูแลรักษาผู้ป่วย ช่วยเหลือในชุมชน ทุกฝ่ายเข้าใจร่วมใจกัน ประสานสัมพันธ์ทำงานร่วมกันดั่งฟันเฟือง

  20. สาธารณภัยตามแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ภัยธรรมชาติ • อุทกภัย วาตภัย โคลนถล่ม • ภัยแล้ง • แผ่นดินไหว อาคารถล่ม • ไฟป่า หมอกควัน • อากาศหนาวจัด • โรคระบาดในพืช • โรคระบาดในสัตว์ • ภัยร้ายแรงจากโรคระบาดในคน • ภัยสึนามิ • ภัยจากน้ำมือมนุษย์ • อัคคีภัย • ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย • อุบัติเหตุร้ายแรง

  21. ความต้องการสนับสนุน • รูปแบบการฝึกซ้อมที่เหมาะสม ที่เป็นมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน เช่น กลุ่มจังหวัด หรือ 3 หน่วยงาน • ควรร่วมมือระหว่าง ปภ กับ สธ จัดทำแผนและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน และกำหนดเวลาที่ตรงกัน ให้มีการซ้อมแผนอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง • การตั้งงบประมาณในงานเฝ้าระวัง • การใช้กฎหมาย , พรบ สาธารณสุข

  22. สวัสดีค่ะ

More Related