1 / 41

เบญจ วรรณ สร่างนิทร

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551. เบญจ วรรณ สร่างนิทร. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่. การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่. ประเด็นนำเสนอ. การปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน. วิธีการบริหาร กิจการ บ้านเมือง ที่ดี. ระบบการบริหาร

callie-rice
Download Presentation

เบญจ วรรณ สร่างนิทร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามพระราชบัญญัติการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 เบญจวรรณ สร่างนิทร

  2. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่ ประเด็นนำเสนอ การปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน

  3. วิธีการบริหาร กิจการ บ้านเมือง ที่ดี ระบบการบริหาร งานบุคคลที่ ส่งเสริม คนเก่ง/ คนดี ประชาชน เป็นศูนย์กลาง การบริหาร ราชการแบบ บูรณาการ การบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ มีประสิทธิภาพ วัดผลได้ โปร่งใส ทบทวน บทบาท ภารกิจต่อเนื่อง E - government รูปแบบใหม่ ขององค์กร ของรัฐ องค์กร กะทัดรัด/ matrix

  4. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับความสะดวกและสนองความต้องการ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

  5. การเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจ/สังคม การเมือง ภาคการเมือง ภาคประชาชน หน้าที่ ก.พ. ปรับปรุง การบริหาร ภาครัฐ ไทยแข่งขัน ได้ใน เวทีโลก การปรับบทบาท ภาครัฐ/วิธีการทำงาน/ ขนาดกำลังคน ระบบราชการเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพสูง การแข่งขัน ไทยในเวทีโลก ประสบการณ์ ของต่างประเทศ ภาครัฐต้องการ กำลังคนมี คุณภาพสูง ภาคธุรกิจ

  6. ความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนของภาครัฐความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนของภาครัฐ • ปรับทิศทางและวิธีการทำงานให้ทำงานร่วมกับภาคเอกชนได้อย่างสอดคล้องกัน • มีกำลังคนมีคุณภาพสูง เพื่อทำบทบาทในการกำหนดนโยบาย ชี้นำ รักษามาตรฐาน และติดตามตรวจสอบ • ปรับบทบาทภารกิจ : ยุบเลิก/ยุบรวม/โอนถ่ายให้ท้องถิ่น/ให้เอกชนทำ/คงไว้ตามเดิม • ปรับโครงสร้างและพัฒนากฎหมาย : ยุบเลิก/ยุบรวม/แยกและตั้งใหม่/คงเดิม/ย้าย

  7. ความจำเป็นในการสร้างความพร้อมด้านกำลังคนภาครัฐความจำเป็นในการสร้างความพร้อมด้านกำลังคนภาครัฐ • ประเทศไทยในปี 2555 จะเป็นคู่แข่งที่สำคัญของภูมิภาคอาเซียอาคเนย์ในด้านการเงิน การค้า การท่องเที่ยว โดยใช้ความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ ระบบโทรคมนาคมระหว่างประเทศ และคุณภาพของการให้บริการ • อย่างไรก็ตาม ปัญหาด้านบุคลากรยังเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้ไทยไม่สามารถแย่งชิงความได้เปรียบได้อย่างเต็มที่ • ดังนั้น ประเทศไทยต้องเตรียมสร้างบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทางการวิจัยและพัฒนา เพื่อไทยจะได้ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และสามารถสร้างความรู้และประดิษฐ์ความใหม่ ๆ ได้ด้วยตนเอง

  8. แนวความคิดในการบริหารงานแนวความคิดในการบริหารงาน และบริหารทรัพยากรบุคคลสมัยใหม่ 1) การจ้างงานในรูปแบบใหม่จะไม่ใช่การจ้างงานแบบถาวรอีกต่อไป แต่จะเป็นการ จ้างงานในรูปแบบของโครงการหรือภารกิจ และคนก็มีแนวคิดไม่ยึดติดกับองค์กร 2) รูปแบบขององค์กรในอนาคตจะไม่มีโครงสร้างที่ชัดเจน เน้นการทำงานเป็นทีม 3) การลดช่วงชั้นการบังคับบัญชาลงเพื่อให้องค์กรมีลักษณะแบนราบ เพื่อความคล่องตัวในการดำเนินงาน 4) ผู้ปฏิบัติงานในอนาคตจะเป็น Knowledge Worker ที่ใช้สมองมากกว่าแรงกายในการทำงาน และสามารถกำหนดวิธีการทำงานของตนเองได้ 5) ผู้บริหารนั้นเรียนรู้จากสถานการณ์จริงมากกว่าเรียนรู้จากในห้องเรียน และมักต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่คาดไม่ถึงเสมอๆ

  9. แนวความคิดในการบริหารงานแนวความคิดในการบริหารงาน และบริหารทรัพยากรบุคคลสมัยใหม่ (ต่อ) 6) ภาวะผู้นำเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นมาได้ และสามารถถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้ 7) ผู้นำ คือ ผู้ที่มีเสน่ห์บารมี (Charisma) สามารถจูงใจ โน้มน้าวใจ สร้างศรัทธาและแรงบันดาลใจ ให้เกิดแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา สร้างความเปลี่ยนแปลงในองค์กรให้เกิดขึ้นในทางที่สร้างสรรค์ สื่อสารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตระหนักถึงภารกิจที่มีร่วมกัน และมุ่งหน้าไปสู่เป้าหมายเดียวกัน บนพื้นฐานของการทำงานร่วมกันเป็นทีม 8) ผู้บริหารและผู้ใต้บังคับบัญชาทุกระดับควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงการได้รับการสนับสนุนด้านการศึกษาและการพัฒนาตนเองด้วย 9) ยุคศตวรรษที่ 21 เน้นพัฒนาคนให้มีความคิดเชิงวิเคราะห์ คิดเชิงกลยุทธ์ คิดเชิงจัดการ และคิดเชิงสัมพันธภาพ

  10. แนวความคิดในการบริหารงานแนวความคิดในการบริหารงาน และบริหารทรัพยากรบุคคลสมัยใหม่ (ต่อ) 10) การให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงบทบาท ภาระ หน้าที่ และแนวทางการทำงานของตนอย่างชัดเจน รวมถึงการได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงาน 11) การเอื้ออำนาจให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา (Empowerment) โดยการให้อิสระในการทำงาน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจจะสร้างความพึงพอใจในการทำงาน และเปิดโอกาสให้แสดงศักยภาพสูงสุดที่มีอยู่ในตัวออกมาได้ 12) แรงจูงใจในการทำงาน ไม่จำเป็นต้องอยู่ในรูปของตัวเงิน แต่อาจหมายถึงอิสระในการทำงาน การได้รับการยอมรับ สภาพแวดล้อมที่ดี ความเอื้ออาทรที่ได้รับ

  11. ผลงาน Performance คุณภาพ ชีวิต Quality Of Worklife กระจาย อำนาจ Decentral- ization คุณธรรม Merit สมรรถนะ Competency ปรัชญาพื้นฐานของ การบริหารกำลังคนภาครัฐ

  12. ระบบจำแนกตำแหน่งใหม่ ปรับปรุงกฎหมายระเบียบข้าราชการพลเรือน สมรรถนะ (competency based) - ความรู้ - ความสามารถ - ทักษะ ระบบคุณธรรม ผลงาน/การพัฒนาผลงาน การบริหารทรัพยากร บุคคลภาครัฐแนวใหม่ (Performance based) ประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคล เตรียม/พัฒนาทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) กระจายความรับผิดชอบ/อำนาจการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบบริหารทรัพยากรบุคคล สมดุลระหว่างคุณภาพชีวิตและการทำงาน

  13. ความพร้อมรับผิด ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ความสอดคล้อง เชิงยุทธศาสตร์ คุณภาพชีวิต : ความสมดุลระหว่าง ชีวิตและการทำงาน ประสิทธิภาพของ การบริหาร ทรัพยากรบุคคล ประสิทธิผลของ การบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบการประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) มิติที่ใช้ในการประเมิน มาตรฐาน ความสำเร็จ

  14. จุดเน้น ผู้รับผิดชอบ ระดับ บทบาท นโยบาย องค์กรกลางบริหาร ทรัพยากรบุคคล งานปฏิบัติด้านการ บริหารทรัพยากรบุคคล บริหารแผนงาน โครงการ และ มาตรการด้านทรัพยากรบุคคล ของส่วนราชการ ยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์การบริหาร ทรัพยากรบุคคล ปฏิบัติการ การบริหารและ พัฒนากำลังคน ส่วนราชการ/จังหวัด บริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้ กรอบมาตรฐานความสำเร็จ สำนักงาน ก.พ. การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ในราชการ กำหนดมาตรฐานความสำเร็จ และติดตามประเมินผล ส่วนราชการ/จังหวัด

  15. การวางแผน/นโยบายทรัพยากรการวางแผน/นโยบายทรัพยากร บุคคล, การสร้างผู้นำ การบริหารระบบตำแหน่งและ ระบบพัฒนาทรัพยากรบุคคล การจำแนกตำแหน่ง, การจัด - อัตรากำลัง, การฝึกอบรม/พัฒนา สรรหา, บรรจุ, แต่งตั้ง, เงินเดือน, สวัสดิการ, งานวินัย ความรับผิดชอบด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล การกำหนดยุทธศาสตร์ ทรัพยากรบุคคล การบริหารระบบ การบริหารกระบวนการ การบริหารกิจกรรม สีมา สีมานันท์ “กว่าจะเป็น Change Agent & Strategic Partner” การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง DNA for SMART HRโดย NIDA และ มติชน 4 สิงหาคม 2547

  16. สิ่งใหม่และสิ่งที่เปลี่ยนแปลง๑๓ เรื่อง ได้ใจคน ได้งาน มาตรการเสริมสร้าง ความเป็นธรรม มาตรการเสริมสร้างประสิทธิผลประสิทธิภาพ คุณภาพ ๗ วางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ๘ ปรับปรุงระบบอุทธรณ์/ร้องทุกข์ ๙ ปรับปรุงระบบจรรยา/วินัย ๑๐ ให้มีมาตรการคุ้มครองพยาน ๑๑ ยกเลิกข้าราชการต่างประเทศพิเศษ ๑ การวาง หลักการ พื้นฐาน ๒ ปรับบทบาท/องค์ประกอบ ๓ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างอำนาจ/ กระจายอำนาจ/ ๔ ปรับปรุงระบบตำแหน่ง ๕ ปรับปรุงระบบค่าตอบแทน ๖ ต่ออายุราชการ ได้ใจคน มาตรการการมีส่วนร่วม ๑๒ ถามความเห็นกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ๑๓ ให้สิทธิข้าราชการในการรวมกลุ่ม 16

  17. เปรียบเทียบโครงสร้างตำแหน่ง เปรียบเทียบโครงสร้างตำแหน่ง ปัจจุบัน ใหม่ ระดับสูง (C10, C11บส.เดิม) หน.สรก. ระดับทรงคุณวุฒิ(C10, C11 เดิม) วช/ชช ระดับต้น (ระดับ 9 เดิม) บส. รองหน.สรก. ระดับ 11 (บส/ชช/วช) ระดับสูง (C9 บส.เดิม) ผอ.สำนัก/เทียบเท่า ระดับทักษะพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ(C9 เดิม) วช/ชช ระดับ 10 (บส/ชช/วช) ระดับ 9 (บส/ชช/วช) ระดับต้น (C8บก.เดิม) ผอ.กองหรือเทียบเท่า ระดับชำนาญพิเศษ (C8เดิม) ว/วช ระดับ 8 (บก/ว/วช) ระดับอาวุโส (C7, C8 เดิม) ระดับชำนาญการ(C6, C7 เดิม) ว/วช ระดับ 7 (ว/วช) ระดับชำนาญงาน(C5, C6 เดิม) ระดับปฏิบัติการ(C3-C5 เดิม) ระดับ 3-5/6ว ระดับ 2-4/5/6 ระดับ 1-3/4/5 ระดับปฏิบัติงาน(C1-C4 เดิม) อำนวยการ วิชาการ ทั่วไป บริหาร

  18. ตำแหน่งประเภทบริหาร • - หัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกระทรวง • หัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม • ผู้ว่าราชการจังหวัด • เอกอัครราชทูตที่เป็นหัวหน้าสถานเอกอัครราชทูต • หัวหน้าคณะผู้แทนถาวรประจำสหประชาชาติ • หัวหน้าคณะผู้แทนถาวรประจำองค์การการค้าโลก • เอกอัครราชทูตประจำกระทรวง • รองหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกระทรวง • รองหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมในสำนักนายกรัฐมนตรีและ • ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี • รองหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมไม่สังกัด สนร. กท. ทบวง • และอยู่ในบังคับบัญชาชึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี • รองหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการและ • ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี • หัวหน้าส่วนราชการซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาเป็นอธิบดี • ผู้ตรวจราชการกระทรวง ระดับสูง • รองหัวหน้าสรก.ระดับกรม/จังหวัด • รองหัวหน้าสถานเอกอัครราชทูต • รองหัวหน้าคณะทูตถาวรประจำองค์การสหประชาชาติ • รองหัวหน้าคณะผู้แทนไทยประจำองค์การการค้าโลก • หัวหน้าสถานกงสุลใหญ่ • รองหัวหน้าส่วนราชการซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาเป็นอธิบดี ระดับต้น

  19. ตำแหน่งประเภทอำนวยการตำแหน่งประเภทอำนวยการ • ระดับ 9 บส. • ผอ. สำนัก หรือ เทียบเท่า • หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด • นายอำเภอ • ผู้ตรวจราชการกรม ระดับสูง • ระดับ 8 บก. • ผอ. กอง หรือ เทียบเท่า • หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด • นายอำเภอ ระดับต้น

  20. ทรงคุณวุฒิ ตำแหน่งประเภทวิชาการ เชี่ยวชาญ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีทรงคุณวุฒิ มีความรู้ ความสามารถ ปสก. และผลงานเป็นที่ประจักษ์ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ • ผู้ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาของ ส่วนราชการระดับกระทรวง ชำนาญการพิเศษ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหา ที่ยากซับซ้อน มีผลกระทบใน วงกว้าง • ผู้ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาของ ส่วนราชการ ชำนาญการ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาที่ยากมาก • หัวหน้างานใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ สูงมาก ปฏิบัติการ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาที่ยาก • หัวหน้างาน ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์สูง • ผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติงานภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ

  21. ตำแหน่งประเภททั่วไป ทักษะพิเศษ อาวุโส • ผู้ปฏิบัติงานที่มีความทักษะพิเศษเฉพาะตัว มีความรู้ ความสามารถ ปสก. และผลงานเป็นที่ประจักษ์ ใช้ทักษะและความชำนาญเฉพาะ ตัวสูง ชำนาญงาน • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ใช้ความรู้ ความสามารถ ปสก. และความชำนาญงานค่อนข้างสูงในงานเทคนิคเฉพาะด้านหรืองานที่ใช้ทักษะเฉพาะตัว • หัวหน้างานที่ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงานค่อนข้างสูง รับผิดชอบงานที่หลากหลาย ปฏิบัติงาน • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาที่ค่อนข้างยาก • หัวหน้างาน ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงาน • ผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติงานตามแนวทาง ขั้นตอน วิธีการที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ

  22. การรับเงินเดือนและการเลื่อนเงินเดือน(กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือน พ.ศ. 2551) กำหนดแบบช่วง/4 บัญชี บัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯ บริหาร อำนวยการ วิชาการ ทั่วไป

  23. การรับเงินประจำตำแหน่ง (กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2551) หลักการ คงสิทธิการได้รับเงินประจำตำแหน่ง ไม่สร้างความเหลื่อมล้ำกับ ขรก. ที่ได้เงินประจำตำแหน่งเดิม ไม่เพิ่มจำนวนตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง ไม่ใช้งบประมาณเพิ่มขึ้น

  24. ประเภทบริหาร ระดับสูง21,000 14,500 ประเภทบริหาร ระดับ 11 21,000 ระดับต้น 10,000 ระดับ 10 14,500 ประเภทอำนวยการ ระดับ 9 10,000 ระดับสูง 10,000 ระดับ 8 5,600 ระดับต้น 5,600 ประเภทวช. /ชช. ประเภทวิชาการ (เฉพาะสายงานที่กำหนด) ระดับ 11 15,600 ทรงคุณวุฒิ 15,600 13,000 ประเภททั่วไป(เฉพาะสายงานที่กำหนด) ระดับ 10 13,000 ระดับ 9 9,900 เชี่ยวชาญ 9,900 ทักษะพิเศษ 9,900 ระดับ 8 5,600 ชำนาญการพิเศษ 5,600 ระดับ 7 3,500 ชำนาญการ 3,500 ไม่ต้องมีเงื่อนไขเพิ่ม ต้องมีเงื่อนไขเพิ่ม

  25. 245 สายงาน ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร 3 สายงาน 89สายงาน 149 สายงาน 4 สายงาน

  26. การเทียบการดำรงตำแหน่งเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญในระดับต่าง ๆ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 การดำรงตำแหน่งเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญในประเภทและระดับตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 เท่ากับ ดังนี้

  27. ว 16/38 ปลัด กท. /รองปลัดฯ/ผวจ. /เทียบเท่า ฯลฯ ว 22/40 บริหาร รองอธิบดี ว9/44 ว13/49 การนำกฎหมายตาม พ.ร.บ. 2535มาใช้บังคับ(เฉพาะคราว) อำนวยการ ว 22/40 ว 16/38 ขึ้น K4-K5 วิชาการ ว 10/48 ขึ้น K2-K3 ขึ้น O4 ทั่วไป ว 22/40 ขึ้น O3 ว 34/47 ขึ้น O2

  28. หลักการ • ไม่กระทบ สิทธิประโยชน์ ของข้าราชการที่ได้รับอยู่ก่อน • วันที่ 11 ธ.ค. 51 • ไม่กระทบ ต่องบประมาณหรือกระทบน้อยที่สุด

  29. หลักเกณฑ์และวิธีการ • ได้รับเงินเดือนตามบัญชีท้าย พ.ร.บ.ฯ ตามประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่ง ตามประกาศการจัดตำแหน่ง และกฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือน พ.ศ. 2551 2. ได้รับเงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับตามบัญชีท้าย พ.ร.บ.ฯ ให้ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำชั่วคราว

  30. หลักเกณฑ์และวิธีการ • 3. กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับตามบัญชีท้าย พ.ร.บ.ฯ ได้รับการปรับเงินเดือนปีละครั้งในวันที่ 1 ต.ค. จนถึงขั้นต่ำของระดับ • ปรับครั้งแรกวันที่ 1 ต.ค. 52 • อัตราการปรับเท่ากับครึ่งหนึ่งของความต่างระหว่างอัตราเงินเดือนของผู้นั้นกับอัตราเงินเดือนขั้นต่ำของระดับตำแหน่ง สูงสุดร้อยละ 10 ของเงินเดือน 4. ให้ข้าราชการที่ได้รับเงินประจำตำแหน่งตามพ.ร.บ. เงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2538 และมีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่งตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2551 ได้รับเงินประจำตำแหน่งในอัตราที่ได้รับอยู่เดิมก่อนวันที่ ก.พ. ประกาศจัดตำแหน่ง

  31. ได้รับเงินเดือนตามบัญชีท้าย พ.ร.บ.ฯ ตามประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่ง ตามประกาศการจัดตำแหน่ง และกฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือน พ.ศ. 2551 หลักเกณฑ์และวิธีการ ตัวอย่าง ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ 22,220 22,220 ............ ............ 13,400 ............ ............ 10,190 18,190 ............ ............ 10,660 ............ ............ 8,320 14,800 ............ ............ 8,500 ............ ............ 6,800 13,400 10,660 8,500 7,940 6,800 ระดับ 5 ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ระดับ 3 ระดับ 4

  32. 2. ได้รับเงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับตามบัญชีท้าย พ.ร.บ.ฯ ให้ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำชั่วคราว หลักเกณฑ์และวิธีการ(ต่อ) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ 36,020 ตัวอย่าง 27,500 ............ ............ ............ ............ ............ 12,880 12,530 14,330 ขั้นต่ำ 12,880 12,530 ขั้นต่ำชั่วคราว ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับ 6

  33. 3. กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับตามบัญชีท้าย พ.ร.บ.ฯ ได้รับการปรับเงินเดือนปีละครั้ง ในวันที่ 1 ต.ค.จนถึงขั้นต่ำของระดับ หลักเกณฑ์และวิธีการ(ต่อ) 10 ธ.ค. 51 11 ธ.ค. 51 1 เม.ย. 52 1 ต.ค. 52 ให้ปรับต่อไปทุกวันที่ 1 ต.ค. จนกว่าเงินเดือนจะถึง 14,330 ขั้นสูง 36,020 36,020 36,020 20,350 ค่ากลาง ค่ากลาง 20,350 27,500 ............ ............ ............ ............ 12,880 12,530 14,330 14,330 ขั้นต่ำ 14,330 14,225 2. ปรับโดยบวกครึ่งหนึ่งของความต่าง (14,330 – 14,120) /2 =105 14,120 1. ขึ้นเงินเดือน 3% ของค่ากลาง (20,350) 13,500 ขึ้นเงินเดือน3% ของค่ากลาง (20,350) 12,880 12,530 12,530 12,530 K2 ระดับ 6 K2 K2

  34. ดำรงตำแหน่ง K2 หรือเทียบเท่า มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี K2 ผ่านการประเมินคุณสมบัติและผลงานโดยส่วนราชการ ดำรงตำแหน่ง K5 หรือเทียบเท่า มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี K5 ผ่านการประเมินคุณสมบัติและผลงานโดย ก.พ.

  35. กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการนำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในระดับต่าง ๆ ตาม พ.ร.บ. 2535 มาใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งได้ เป็นการเฉพาะคราว เฉพาะการแต่งตั้งในครั้งแรกของแต่ละบุคคล กรณี การย้ายไปดำรงตำแหน่งต่างประเภทตำแหน่งที่ใช้หลักเกณฑ์การเลื่อน การเลื่อนหรือ

  36. บริหาร อำนวยการ 66,480 ระดับสูง 53,690 วิชาการ เดิม ใหม่ เดิม ใหม่ 1-2 ปี 1 ปี 66,480 64,340 ระดับต้น 48,700 ทรงคุณวุฒิ 59,770 ระดับสูง 31,280 41,720 ทั่วไป 2 ปีถึง MP K4 1 ปี เดิม ใหม่ 59,770 เชี่ยวชาญ 1 ปี 1 ปี เดิม ใหม่ 50,550 ระดับต้น 25,390 29,900 3 ปีถึง MP K3 1 ปี 50,550 59,770 ชำนาญการพิเศษ ทักษะพิเศษ 21,080 ถึงขั้นสูง O3 48,220 4 ปีถึง MP K2 1 ปี 1 ปี 36,020 * 47,450 ชำนาญการ * อาวุโส 14,330 15,410 6 ปีถึงMP O2 2 ปี ตรี 6 ปี โท 4 ปี เอก 2 ปี 2 ปี 22,220 * ปฏิบัติการ 33,540 ชำนาญงาน 7,940 10,190 ปวช. 6 ปี ปวท. 5 ปี ปวส. 4 ปี 2 ปี 18,190 ปฏิบัติงาน 4,630

  37. บริหาร 1,053 อัตรา (0.28 %) ทั่วไป 125,013 อัตรา (32.78 %) วิชาการ 249,247 อัตรา (65.35 %) อำนวยการ 6,064 อัตรา (1.59 %) ข้าราชการพลเรือนสามัญ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 จำแนกตามประเภทตำแหน่ง

  38. เชี่ยวชาญ 0.67 % 250,000 200,000 ทรงคุณวุฒิ 0.07 % ทักษะพิเศษ 0.001 % 150,000 อาวุโส 1.77 % 100,000 สูง 0.60 % สูง 0.139 % 50,000 ต้น 0.99 % ต้น 0.137 % 0 ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร ข้าราชการพลเรือนสามัญ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 จำแนกตามประเภทตำแหน่ง และ ระดับตำแหน่ง ชำนาญการ พิเศษ 6.78 % ชำนาญการ 45.38 % ชำนาญงาน 26.29 % ปฏิบัติการ 12.46 % ปฏิบัติงาน 4.71 %

  39. ต้น สูง ต้น สูง เชี่ยวชาญ ชำนาญการ พิเศษ ทรงคุณวุฒิ ทักษะพิเศษ ปฏิบัติการ ชำนาญการ อาวุโส ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน 0% 20% 40% 60% 80% 100% สัดส่วนของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 จำแนกตามประเภทตำแหน่ง และ ระดับตำแหน่ง บริหาร อำนวยการ วิชาการ ทั่วไป

More Related