940 likes | 1.1k Views
การพัฒนางานวิจัยในโรงพยาบาล : แนวคิดและแนวปฏิบัติ การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ผศ . ดร . เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขไทย. คุณภาพบริการ ประสิทธิภาพระบบบริการ ความเสมอภาค คุ้มทุน - คุ้มค่า. การปฏิบัติงานในระบบสุขภาพใหม่.
E N D
การพัฒนางานวิจัยในโรงพยาบาล: แนวคิดและแนวปฏิบัติ การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ผศ.ดร.เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขไทยนโยบายการพัฒนาสาธารณสุขไทย • คุณภาพบริการ • ประสิทธิภาพระบบบริการ • ความเสมอภาค • คุ้มทุน-คุ้มค่า
การปฏิบัติงานในระบบสุขภาพใหม่การปฏิบัติงานในระบบสุขภาพใหม่ • เน้นสุขภาพเชิงรุก • เน้นการดูแลที่ต่อเนื่อง • ส่งเสริมการทำงานแบบสหวิทยาการ • ส่งเสริมการใช้สารสนเทศและเครือข่ายข้อมูล • เน้นจริยธรรม
เพิ่มการพัฒนาและใช้แนวปฏิบัติในคลินิก & EBP • เน้นที่ผลลัพธ์การดูแล • เน้นการใช้จ่ายที่คุ้มค่า • เน้นการตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ยุคนี้ Knowledge-Based Society ต้องสร้างและจัดการกับความรู้ เพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง ให้เกิดบริการที่เป็นเลิศ
Root of patient care provision • Trial and error • Experience based practice • Theory based practice • Research based practice
การปฏิบัติการพยาบาลในยุคนี้การปฏิบัติการพยาบาลในยุคนี้ Evidence-Based Practice
EBNP: การปฏิบัติการพยาบาลโดยอิงหลักฐานทางวิชาการ • การพยาบาลที่ลดแนวทางการปฏิบัติที่ไม่เป็นระบบ หรือตามความคิดเห็นส่วนบุคคล หรือสิ่งที่ทำสืบต่อกันมาโดย ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าดีหรือไม่ ปลอดภัยหรือไม่ โดยเน้นการใช้ผลงานวิจัยหรือข้อมูลที่บ่งบอกว่าเป็นการพัฒนาคุณภาพ รวมทั้งมติความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ เพื่อนำมาช่วยตัดสินใจในการปฏิบัติการพยาบาล • (Stetler & Marram, 1998)
EBNP • การปฏิบัติการพยาบาลที่บูรณาการประสบการณ์ & ความรู้ความชำนาญของผู้ปฏิบัติ (Tacit K.) เข้ากับความรู้ที่ได้จากงานวิจัย (Explicit K.) • โดยเน้นที่ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นและมีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย • ร่วมกับคำนึงถึงความพึงพอใจของผู้ป่วย Best Practice
ดังนั้น EBNP จึงเกิดขึ้นมาเพื่อ เน้นประสิทธิภาพของ Intervention และ ผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่คุ้มค่า การประกันคุณภาพการพยาบาล
EBNP:Best Practices Knowledge Management R to R
Update knowledge Research
การศึกษาค้นคว้าเพื่อให้เกิดความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการและนำไปใช้ประโยชน์ได้ การศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริงในปัญหาที่สงสัย ภายในขอบเขตที่กำหนดไว้ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การวิจัย (Research) สร้างความรู้ใหม่
กระบวนการศึกษาที่ดำเนินไปอย่างมีระบบและกฏเกณฑ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และตีความหมายของข้อมูล เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ถูกต้องต่อปัญหาหรือคำถามวิจัยที่ตั้งไว้ การวิจัย (Research) สร้างความรู้ใหม่
R to R Routine to Research
แนวคิดRoutine to Research โดยนำระบบการบริหารจัดการ ด้านการวิจัย มาเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล อย่างถูกต้องตามหลักวิจัย...R เป็นกระบวนการพัฒนา หรือสร้างองค์ความรู้ จากงานประจำ ของทีมการดูแลผู้ป่วย ที่พบว่าเกิดปัญหาหรือต้องการพัฒนา การปฏิบัติงานประจำนั้นๆ ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น.....R ผลการวิจัยที่ได้ เมื่อนำไปใช้ จะทำให้เกิดการพัฒนา การปฏิบัติงานประจำ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น...R
การพัฒนางานประจำ สู่การวิจัย Better Practice
Routine to Research องค์ประกอบ/คุณลักษณะที่สำคัญ คือ 1. คำถามวิจัย (Research question) 2. ผู้วิจัย (Investigators) 3. ผลการวิจัย (Results) 4. การนำผลการวิจัยไปใช้ (Implementation)
1) คำถามวิจัย (Research Question) เป็นปัญหาที่มาจากงานประจำหรือการบริการที่เป็นงานประจำที่ทำอยู่ โดยมีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาการปฏิบัติหรือ เพิ่มประสิทธิภาพของงาน/ บริการที่เป็นงานประจำนั้นๆ
2) ผู้วิจัย (Investigators) ต้องเป็นบุคลากรที่ปฏิบัติ งานประจำนั้นอยู่ ซึ่งเป็น ผู้ประสบปัญหาในหน่วยงานนั้น
3) ผลการวิจัย (Results) วัดผลลัพธ์ที่เกิดต่อผู้ป่วยหรือผล ของบริการที่มีผลต่อผู้ป่วยโดยตรง โดยเฉพาะในเรื่องของคุณภาพการบริการ
4) การนำผลการวิจัยไปใช้ (Implementation) ผลการวิจัยต้องนำกลับไปใช้ในหน่วยงานของตนเอง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยหรือเพื่อการพัฒนางานประจำนั้น ๆ
ความเกี่ยวพันที่จะนำไปสู่คุณภาพบริการความเกี่ยวพันที่จะนำไปสู่คุณภาพบริการ KM Care Team R to R
การพัฒนาทีมการดูแลผู้ป่วย (Care Team) • ทีมนำทางคลินิก Clinical Lead Team (CLT) ตามกลุ่มผู้ป่วยที่มารับบริการโดยสหสาขาวิชาชีพ เพื่อพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วย (Care Process) • มีการประยุกต์การทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย สามารถพัฒนากระบวนการดูแลรักษาที่เน้นผู้ป่วยตามมาตรฐานทางวิชาชีพ
การจัดการความรู้ (KM) • เป็นกระบวนการจัดการความรู้อย่างเหมาะสม • มีการสร้าง รวบรวม จัดระบบ เผยแพร่ ถ่ายโอนความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ ในการทำงาน • มีการสร้างเครือข่ายและมีวัฒนธรรมของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้มีการสร้างนวัตกรรมในการดูแลผู้ป่วย
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย(R to R) • การแสวงหาความรู้อย่างมีระบบ เพื่อที่จะตอบคำถามหรือแก้ปัญหา ซึ่งเป็นการพัฒนางานวิจัย อาจเป็นรูปแบบร่วมกับทีมการดูแลผู้ป่วย โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ หรือเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพในงานนั้นๆ
จาก R to Rสู่นวัตกรรมการบริการ การนำเอาความรู้ ความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆเข้ามาใช้ปรับปรุงงาน/การบริการหรือช่วยให้การบริการได้ผลดีมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม ตลอดจนช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
R to R & นวัตกรรม ทำให้การบริการมีคุณค่ามากขึ้น
R to R & นวัตกรรม เมื่อนำมาใช้ จะช่วยให้การทำงานได้ผลดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ช่วยประหยัดเวลาและแรงงาน
R to R & นวัตกรรม ทำให้บุคลากร • พัฒนาความรู้ • สามารถสร้าง & นำผลงานวิจัย มาใช้ในการปฏิบัติงาน • มั่นใจ และพึงพอใจในงานที่ทำ
R to R & นวัตกรรม งาน • มีการวิเคราะห์สถานการณ์การปฏิบัติงาน • เก็บ & วิเคราะห์ข้อมูลถูกต้องตามหลักการ • มีนวัตกรรมการบริการ/ การดูแลผู้ป่วยที่ได้มาตรฐาน
R to R & นวัตกรรม • องค์กร • การพัฒนางานขององค์กร • ขยายผลเผยแพร่สู่องค์กรภายนอก • เกิดการสร้างเครือข่าย • วัฒนธรรมของการแลกเปลี่ยนความรู้ • องค์กรแห่งนวัตกรรม
ขั้นตอน การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
Evidence-Based Practice 4.Evidence-based 1.Evidence-triggered 3.Evidence-observed 2.Evidence-supported (From Center for Advanced Nursing Practice, 2000)
1.Evidence-triggered • Practice triggers • Knowledge triggers Describe problem of practice
2.Evidence-supported Evidence summation • guideline, • case exemplars, • best practice, • research findings Synthesis available evidence
3.Evidence-observed • Pilot study • Product evaluation • Cost/benefit analysis Determine relevance in setting
4.Evidence-based • Best practice established • Cost/benefit analysis • Contribution to advances in professional practice • Outcome improvement Evaluate impact on systems improvement
ขั้นตอนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยขั้นตอนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย 1. ค้นหาประเด็นปัญหาและสาเหตุ 2. สร้างทีมงานในการพัฒนางานไปสู่การวิจัย 3. จัดทำโครงการให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา 4. ดำเนินการวิจัย 5. นำผลไปใช้ เผยแพร่ ติดตามและประเมินผล 6. ทบทวนการปฏิบัติของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง
ขั้นตอน การปฏิบัติ 1. การค้นหาประเด็นปัญหาและสาเหตุ วิเคราะห์ประเด็นปัญหาของงาน และสาเหตุ • อุบัติการณ์............................ • อัตรา.............................................. • ระยะเวลา...................................... • ค่าใช้จ่าย....................................... • ความรู้ ทักษะ................................. • ทีม ................................................ Routine to Research
ขั้นตอน การปฏิบัติ 2.สร้างทีมงานในการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย จัดตั้งกลุ่มพัฒนาคุณภาพงานประจำสู่งานวิจัย Routine to Research 3. จัดทำโครงการให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา ขั้นตอน การปฏิบัติ วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และจัดตั้งโครงการวิจัย
การจัดตั้งโครงการ • ปัญหาที่ต้องการวิจัยจากงานประจำคืออะไร • วัตถุประสงค์ของการวิจัยคืออะไร • ตัวแปรที่จะศึกษาคืออะไรบ้าง • จะต้องทบทวนวรรณกรรมเรื่องใดบ้าง • จะนำผลการวิจัยไปใช้พัฒนางานอย่างไร
ทบทวนวรรณกรรม…เพื่อ • รวบรวมแนวความคิดในการตั้งปัญหาการวิจัย • ให้รอบรู้ในข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับ • เตรียมกรอบทฤษฎีในการวิจัย • ประเมินความเป็นไปได้ในการวิจัย • รวบรวมรายละเอียดวิธีและเครื่องมือวิจัย ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ทบทวนวรรณกรรม…โดย • ค้นหา ความรู้ จากเอกสาร ตำรา บทความ รายงานการวิจัย • อ่าน พินิจ พิเคราะห์ • เขียน เรียบเรียง กรอบแนวคิดในการวิจัย
ทบทวนวรรณกรรม…อะไรบ้างทบทวนวรรณกรรม…อะไรบ้าง • แนวคิดและตัวแปรทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยครั้งนี้ • ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรดังกล่าว • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้บทสรุป ที่ทำให้ผู้วิจัยต้องการศึกษาในประเด็นดังกล่าว
Routine to Research ทฤษฎี การปฏิบัติ • ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ศึกษาข้อมูล เทียบเคียงข้อมูล • กำหนดมาตรฐาน/ แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด สอดคล้องกับหน่วยงาน • ออกแบบงานวิจัย • ตั้งสมมุติฐานเพื่อทำการพิสูจน์ • กำหนดเครื่องมือ วัดก่อน-หลัง • เก็บรวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล 4. ดำเนินการวิจัย
5. เผยแพร่ ติดตามและประเมินผล - กำหนดเป็นแนวปฏิบัติใช้ในหน่วยงาน • ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ ความคุ้มค่า คุ้มประโยชน์ 6. ทบทวนแนวปฏิบัติของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง - ถ้าพบปัญหา .....จะมีการติดตามทบทวนแนวปฏิบัติโดยประชุมกลุ่ม Routine to Research
การค้นหาสาเหตุและประเด็นปัญหาการค้นหาสาเหตุและประเด็นปัญหา สร้างทีมงาน • จัดทำโครงการให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การดำเนินงาน -ศึกษาข้อมูล -วิเคราะห์ข้อมูล -เทียบเคียงข้อมูล (benchmarking) -จัดลำดับความเร่งด่วนของปัญหา -ศึกษาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา -กำหนดเครื่องมือ วัดก่อนและหลัง -กำหนดแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด -ปรับให้เหมาะสมกับบริบทของหน่วยงาน -เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนการทำ R to R สรุปและอภิปรายผลการวิจัย • เผยแพร่ ติดตามและประเมินผล ทบทวนการปฏิบัติของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง
การค้นหาสาเหตุและประเด็นปัญหาการค้นหาสาเหตุและประเด็นปัญหา สร้างทีมงาน • จัดทำโครงการให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา ขั้นตอนการทำ R to R
การดำเนินงาน -ศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เทียบเคียงข้อมูล -จัดลำดับความเร่งด่วนของปัญหา -ศึกษาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา -กำหนดเครื่องมือ วัดก่อนและหลัง -กำหนดแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด -ปรับให้เหมาะสมกับบริบทของหน่วยงาน -เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนการทำ R to R