440 likes | 818 Views
การส่งเสริมการปลูกพืชผัก ผลไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ และการตลาดโครงการหลวง. นายสุทัศน์ ปลื้มปัญญา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. ประเด็นนำเสนอ. โครงการหลวง. การวิจัยและพัฒนาพืชผัก. การวิจัยและพัฒนาไม้ผล. การวิจัยและพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับ. การอารักขาพืช.
E N D
การส่งเสริมการปลูกพืชผัก ผลไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ และการตลาดโครงการหลวง นายสุทัศน์ ปลื้มปัญญา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
ประเด็นนำเสนอ • โครงการหลวง • การวิจัยและพัฒนาพืชผัก • การวิจัยและพัฒนาไม้ผล • การวิจัยและพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับ • การอารักขาพืช • การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด
เริ่มต้นโครงการหลวง • 40 ปีก่อน - บนดอยมีชาวเขาที่ยากจน ดำรงชีวิตด้วยการทำไร่เลื่อนลอย - พื้นที่ทำไร่เลื่อนลอยในเชียงใหม่ เชียงราย และน่าน 11,560 ตร.ม. - พ.ศ. 2509 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกฝิ่น 112,000 ไร่ - พ.ศ. 2502 รัฐบาลออกกฎหมายห้ามสูบฝิ่น
เริ่มต้นโครงการหลวง พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมหมู่บ้านแม้วดอยปุย ทรงทราบว่าชาวเขามีรายได้จากการปลูกท้อพื้นเมืองพอๆ กับการปลูกฝิ่น - พระราชทานเงิน 200,000 บาท ให้มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ - โปรดเกล้าฯ ตั้ง “โครงการพระบรมราชานุเคราะห์ชาวเขา” และแต่งตั้งหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนีเป็นผู้อำนวยการโครงการ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “โครงการหลวงพัฒนาชาวเขา” “โครงการหลวงภาคเหนือ” และ “โครงการหลวง” - พ.ศ. 2535 โปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น “มูลนิธิโครงการหลวง
กระแสพระราชดำรัสพระราชทานพ.ศ. 2517 ทำไมจึงพัฒนาชาวเขา “เรื่องที่จะช่วยชาวเขาและโครงการชาวเขานั้นมีประโยชน์โดยตรงกับชาวเขาเพื่อจะส่งเสริม และสนับสนุนให้ชาวเขามีความเป็นอยู่ดีขึ้นสามารถที่จะเพาะปลูกสิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นรายได้กับเขาเอง ที่มีโครงการนี้จุดประสงค์อย่างหนึ่งก็คือมนุษยธรรมหมายถึงให้ผู้ที่อยู่ในถิ่นทุรกันดารสามารถที่จะมีความรู้และพยุงตัวมีความเจริญได้อีกอย่างหนึ่งก็เป็นเรื่องช่วยในทางที่ทุกคนเห็นว่าควรจะช่วย เพราะเป็นปัญหาใหญ่คือปัญหาเรื่องยาเสพติดถ้าสามารถช่วยชาวเขาปลูกพืชที่เป็นประโยชน์บ้างเขาจะเลิกปลูกยาเสพติดคือฝิ่นทำให้นโยบายการระงับการปราบปรามการสูบฝิ่นและการค้าฝิ่นได้ผลดีอันนี้ก็เป็นผลอย่างหนึ่ง ผลอีกอย่างหนึ่งซึ่งสำคัญมากก็คือ ชาวเขาตามที่รู้เป็นผู้ทำการเพาะปลูกโดยวิธีที่จะทำให้บ้านเมืองของเราไปสู่หายนะได้โดยที่ถางป่าและปลูกโดยวิธีที่ไม่ถูกต้องถ้าพวกเราทุกคนไปช่วยเขาก็เท่ากับช่วยบ้านเมืองให้มีความดีความอยู่ดีกินดีและปลอดภัยได้อีกทั่วประเทศเพราะถ้าสามารถทำโครงการนี้ได้สำเร็จให้ชาวเขาอยู่เป็นหลักเป็นแหล่งสามารถที่จะมีความอยู่ดีกินดีพอสมควรและสนับสนุนนโยบายที่จะรักษาป่าไม้รักษาดินให้เป็นประโยชน์ต่อไปประโยชน์อันนี้จะยั่งยืนมาก”
1. ช่วยเหลือราษฎรชาวไทยภูเขาให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2.ลดการปลูกพืชเสพติด 3.การฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าต้นน้ำลำธาร วัตถุประสงค์
พื้นที่ดำเนินงาน • สถานีวิจัย 4 แห่ง • ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 38 แห่ง พื้นที่ดำเนินงาน 369 หมู่บ้าน จำนวนหมู่บ้าน เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน และพะเยา ในพื้นที่จังหวัด 31,810 ครัวเรือน รวม 150,248 คน จำนวนประชากร
แผนที่แสดงที่ตั้งหมู่บ้านชาวเขาบนพื้นที่สูงแผนที่แสดงที่ตั้งหมู่บ้านชาวเขาบนพื้นที่สูง ประชากร 1,203,149 คน 226,696 ครัวเรือน 3,881 กลุ่มบ้าน 20 จังหวัด
กิจกรรมหลักของมูลนิธิโครงการหลวงกิจกรรมหลักของมูลนิธิโครงการหลวง เพื่อหาชนิด พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ วิธีการปฏิบัติ การรักษาการจัดการหลังเก็บเกี่ยว และการแปรรูป ตลอดจนสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม งานวิจัย ส่งเสริมและพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเขาและการฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร งานพัฒนา การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต การขนส่ง และการจำหน่ายผลผลิตของเกษตรกร งานตลาด
การปลูกผัก ผลไม้ และดอกไม้โครงการหลวง • เกษตรกรใช้บริโภค และสร้างรายได้แก่ครัวเรือน • เกษตรกรสามารถเลือกปลูกพืชหลายชนิดตามความเหมาะสมต่อ สภาพภูมิสังคม • การปลูกภายใต้ระบบการอนุรักษ์ดินและน้ำ • - แปลงหญ้าแฝก • - ขั้นบันได แนวคันดินรับน้ำขอบเขา
การวิจัย มาตรฐานอาหารปลอดภัย การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการวางแผนการผลิต ความสัมพันธ์ของ การวิจัย พัฒนา และการตลาด โครงการหลวง • ความต้องการของตลาด • ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา • * คุณภาพผลผลิต • * การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว • การประชุมกลุ่มประจำเดือน • การเยี่ยมเยียน • การฝึกอบรม • แผนการวางแผนการผลิตและการตลาด • การติดตามและรายงานผลผลิตก่อนเก็บเกี่ยว
การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก พืชผักเขตหนาว ฤดูปลูกปี 2524 โครงการหลวงได้เริ่มส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชผักเมืองหนาวที่โครงการหลวงแม่แฮ ต่อมาโครงการหลวงทุ่งหลวงก็เริ่มปลูกในฤดูถัดมาของปีเดียวกัน ผลผลิตและการจำหน่ายผัก ระหว่างฤดูปลูก ปี 2524-2529
การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก • ศึกษาชนิดและพันธุ์พืชผักที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมบนพื้นที่สูง และตามความต้องการของตลาด • พัฒนาเทคโนโลยีใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • ลดต้นทุน • แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแก่เกษตรกร • ปัจจุบันมีพืชผักส่งเสริมให้แก่เกษตรกรปลูก 68 ชนิด • อยู่ในระหว่างงานวิจัยและพัฒนา 61 ชนิด
การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก การวิจัยและพัฒนาโรงเรือนและระบบการปลูกผักในโรงเรือน
การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก Technology Transfer • ปัจจุบันเกษตรกรในโครงการหลวง ร้อยละ 70 ปลูกพืชผักในโรงเรือน 2,000 โรงเรือน • โรงเรือนต้นทุนต่ำ • ระบบการปลูกผักในโรงเรือนของพืชผักแต่ละชนิด
การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก Good Agricultural Practice (GAP)
ระบบการปลูกพืชผัก Good Agricultural Practice (GAP) 2001 -พัฒนาระบบการปลูกพืชผักให้เข้าสู่มาตรฐาน GAP 2002 - 34 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงได้รับการรับรองแหล่งผลิตตามมาตรฐาน GAP จา กกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2553 - 38 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงได้รับการรับรองแหล่งผลิตตามมาตรฐาน GAP จากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แบบบันทึกเกษตรกร เกษตรกรต้องบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงานทุกครั้ง Company Logo
การตรวจประเมินของทีมผู้ตรวจประเมินภายในการตรวจประเมินของทีมผู้ตรวจประเมินภายใน สัมภาษณ์เกษตรกร ตรวจสอบแปลงปลูก แจ้งผลการตรวจประเมิน เกษตรกรยอมรับผลการตรวจประเมิน
ระบบการปลูกพืชผัก การตรวจรับรองโดยกรมวิชาการเกษตร กรมวิชาการเกษตรเข้าตรวจสอบระบบการผลิตทุกปี
ระบบการปลูกพืชผัก Global GAP Standard 2005 -ทีมวิจัยพืชผักได้เริ่มวิจัยการผลิตผักภายใต้มาตรฐาน Eurep GAP ใน 7 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 2007 - มาตรฐาน Eurep GAP เปลี่ยนเป็น Global GAP และเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกเป็น 9 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 2010 - 18 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงสามารถปลูกผักภายใต้ มาตรฐาน Global GAP
ระบบการปลูกพืชผัก ทีมผู้ตรวจรับรองระบบ Global GAP จากบริษัท BVQI ตรวจสอบสถานที่เก็บสารเคมีทางการเกษตรของศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ผู้ตรวจรับรองระบบ Global GAP สอบถามการปฏิบัติในการเพาะกล้าผักกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมผัก
ระบบการปลูกพืชผัก การปลูกผักอินทรีย์ 2003 -ผลผลิตผักอินทรีย์การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2010 - อยู่ระหว่างการขอรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จากสำนักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ระบบการตรวจทวนย้อนกลับระบบการตรวจทวนย้อนกลับ • ระบบ GAP ตรวจสอบได้ถึงศูนย์พัฒนาโครงการหลววง • ระบบ Global GAP ตรวจสอบถึงแปลงเกษตรกร • - อยู่ระหว่างปรับปรุงเทคโนโลยีการทวนสอบย้อนกลับ โดยการใช้แถบแม่เหล็ก (barcode) ระบบ RFID
การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก
การวิจัยและพัฒนาผลไม้การวิจัยและพัฒนาผลไม้ • เพื่อการบริโภคและสร้างรายได้แก่ครัวเรือน • เพื่อปกคลุมดินในพื้นที่ลาดชัน ลดการชะล้างของผิวหน้าดิน • เพื่อเกษตรมีอาชีพถาวรเป็นหลักแหล่งไม่โยกย้ายถิ่นฐาน
การวิจัยและพัฒนาผลไม้การวิจัยและพัฒนาผลไม้ • ไม้ผลเขตหนาว : บ๊วย พี้ช พลัม สาลี่ พลับ และกีวีฟรุ้ท • ไม้ผลขนาดเล็ก: สตอเบอรี่ องุ่น มะเดื่อมัลเบอรี่ เคพกูสเบอรี่และเสาวรสหวาน • ไม้ผลเขตร้อน: อโวกาโดผลไม้ตระกูลส้ม มะละกอ และมะม่วง
การวิจัยและพัฒนาผลไม้การวิจัยและพัฒนาผลไม้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่เกษตรกร • สนับสนุนพันธุ์พืช : - พันธุ์ดี - มีคุณภาพสูง • การให้การอบรมและการสาธิต - การเยี่ยมเยียนเกษตรกร - การจัดทำแปลงสาธิตและสวนตัวอย่าง
การวิจัยและพัฒนาผลไม้การวิจัยและพัฒนาผลไม้ หมายเหตุเกษตรกรปลูกอโวกาโดได้รับการรับรองการปลูกในระบบอินทรีย์
การวิจัยและพัฒนาไม้ดอกและไม้ประดับการวิจัยและพัฒนาไม้ดอกและไม้ประดับ • ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงที่ส่งเสริมการผลิต 18 ศูนย์ • จำนวนพืช 70 ชนิด (ไม้ตัดดอก 43 ชนิด และไม้ตัดใบ 27 ชนิด) • พื้นที่ดำเนินงาน 258 ไร่ • เกษตรกร 548 ราย รายได้จากการส่งเสริมและพัฒนาไม้ดอก(1 ม.ค.– 25 ธ.ค. 2552) ไม้ตัดดอก 16,108,782.20 บาท ไม้ตัดใบ 1,851,674.50 บาท รวม 17,960,456.67 บาท
รายได้งานพัฒนาและส่งเสริมไม้ดอกปี 2540 - 2552 ล้านบาท
การอารักขาพืช เพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตให้ได้มาตรฐานสากล • การประชุมประจำเดือน • การถ่ายทอดความรู้โดยผ่านการอบรม • การจัดทำคู่มือการจัดการศัตรูพืช แบบผสมผสาน • หมอพืช 38 คน • ห้องปฏิบัติการตรวจสอบสารพิษ 34 แห่ง
การอารักขาพืช การจัดการแมลงศัตรูพืช การควบคุมโดยชีววิธี (Biological Control- GAP, Global GAP, Organic) • การใช้สารชีวภัณฑ์ที่ผลิตเป็นการค้า • การใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่ผลิตขึ้นเอง เช่น เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า เป็นต้น • การใช้แมลงตัวห้ำ และตัวเบียน
การอารักขาพืช การควบคุมโดยใช้สารเคมี (GAP and Global GAP) • จัดทำทะเบียนรายชื่อสารเคมีที่มูลนิธิโครงการหลวงอนุญาตให้ใช้ • ควบคุมการใช้สารเคมี และการเบิกจ่ายสารเคมีให้แก่เกษตรกรและศูนย์พัฒนาโครงการหลวง • รวบภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใช้แล้วเพื่อนำมาทำลายทิ้งอย่างถูกต้องและเหมาะสม
การอารักขาพืช การวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลผลิต • สุ่มเก็บตัวอย่างผลผลิตจากแปลงเกษตรกรก่อนเก็บเกี่ยว 1-2 วัน มาวิเคราะห์หาสารพิษตกค้างด้วย GT-test kit • สุ่มเก็บตัวอย่างผลผลิตจากโรงคัดบรรจุของศูนย์พัฒนาโครงการหลวง มาวิเคราะห์หาสารพิษตกค้างด้วย GT-test kit • สุ่มเก็บตัวอย่างผลผลิตจากโรงคัดบรรจุเชียงใหม่ มาวิเคราะห์หาสารพิษตกค้างด้วยเครื่อง GC, GC-MS, HPLC
ผลผลิต ของเกษตรกร • - ได้รับมาตรฐาน GAP • - พืชผักและสมุนไพร 149 ชนิด เกษตรกร 3,897 ราย • ผักอินทรีย์ 43 ชนิด เกษตรกร 537 ราย • - ไม้ผล 13 ชนิด เกษตรกร 1,800 ราย อาคารคัดบรรจุ/ระบบเย็นเร็วศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 6 แห่ง - มาตรฐาน GMP อาคารคัดบรรจุ เชียงใหม่ - มาตรฐาน GMP - มาตรฐาน HACCP โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ • - มาตรฐาน GMP • - มาตรฐาน HACCP อาหารปลอดภัย อาคารผลิตผล กรุงเทพฯ • มาตรฐาน(GMP) ระบบมาตรฐานคุณภาพผลผลิต ตลาด ตลาด
ข้อมูลด้านการตลาดผลผลิตของเกษตรกรข้อมูลด้านการตลาดผลผลิตของเกษตรกร
กลุ่มลูกค้าพืชผัก มูลนิธิโครงการหลวง GLOBAL G.A.P • รังสิตฟาร์ม - Supper Market • ร้านอาหาร - ไต้หวัน • ร้านโครงการหลวง • Blue Elephant Organic GAP LEVEL ร้านค้าโครงการหลวง