1 / 120

การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง. กรมบัญชีกลางได้มีหนังสือซ้อมความเข้าใจแนวทางปฏิบัติตามระเบียบ Auction ปี ๔๙ ที่ กค ๐๔๐๘.๓/ว ๕๙ ลว. ๑๗ ก.พ. ๒๕๔๙. ร้อยละ ๙๕ ของการทุจริตภาครัฐ เกิดขึ้นจากการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง. เริ่มใช้เมื่อ ๑ ก.พ. ๔๙.

Download Presentation

การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

  2. กรมบัญชีกลางได้มีหนังสือซ้อมความเข้าใจแนวทางปฏิบัติตามระเบียบ Auction ปี ๔๙ ที่ กค ๐๔๐๘.๓/ว ๕๙ ลว. ๑๗ ก.พ. ๒๕๔๙ ร้อยละ ๙๕ ของการทุจริตภาครัฐ เกิดขึ้นจากการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง เริ่มใช้เมื่อ ๑ ก.พ. ๔๙

  3. กำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดกำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT การใช้บังคับ

  4. ความสัมพันธ์กับระเบียบอื่น (ข้อ 5) วิธีปฏิบัติใดที่มิได้กำหนดในระเบียบนี้ให้ใช้ควบคู่ไปกับ ส่วนราชการ ระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม รัฐวิสาหกิจ ระเบียบข้อบังคับ ของรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ข้อบังคับของ องค์การมหาชน เว้นแต่ กวพ.อ. กำหนดหรือวินิจฉัยเป็นอย่างอื่น

  5. กำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดกำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT ยกเว้น ไม่ใช้บังคับกับการจัดหาพัสดุในเรื่องต่อไปนี้ ระเบียบ Auctionปี๔๙

  6. คณะกรรมการต่าง ๆ ตามระเบียบฯ นี้ คณะกรรมการ ประกวดราคา ตามโครงการ (มติ ครม.ลว. 6 ต.ค. 52 ให้เป็นอำนาจของ หน.หน่วยงาน แต่งตั้งได้) คณะกรรมการ ว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ (กวพ.อ.) (ตามระเบียบฯ ข้อ 6) คณะกรรมการกำหนด ร่างขอบเขตของงาน (TOR) และร่างเอกสาร ประกวดราคา (หัวหน้าหน่วยงาน แต่งตั้งได้เอง

  7. หน้าที่ของ กวพ.อ.

  8. กำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดกำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT หลักเกณฑ์ในการขออนุมัติ ผ่อนผัน ต่อ คณะกรรมการ ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (กวพ.อ.) 2 1 ในกรณีที่หน่วยงานจัดหาพัสดุไม่ได้ดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบสำนักนายกว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2549 ต้องขออนุมัติผ่อนผันการไม่ปฏิบัติตามระเบียบไปยัง กวพ.อ. โดยชี้แจงถึงเหตุผลความจำเป็นก่อน ไม่ใช่ดำเนินการผิดระเบียบไปแล้วมาขออนุมัติผ่อนผันในภายหลัง กรณีนี้จะทำไม่ได้เพราะ กวพ.อ. ไม่มีอำนาจยกเว้นหรือผ่อนผันโทษทางวินัยแก่ผู้กระทำผิดระเบียบ หน่วยงานที่มีฐานะเป็นหน่วยงานย่อยต่ำกว่าระดับกรม หากจะทำการหารือหรือขอยกเว้นวิธีปฏิบัติต่อ กวพ.อ. ให้ดำเนินการผ่านหน่วยงานต้นสังกัดก่อน

  9. ขั้นตอนการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ขั้นตอนการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 9

  10. 1 1.1 แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดำเนินการ e-Auction ร่าง TOR และเอกสารประกวดราคา ผู้มีสิทธิเสนอราคา เข้าเสนอราคาในระบบประมูล 6 2 11 - คำนวณราคากลาง (กรณีก่อสร้าง) - ทำรายงานขอซื้อของจ้าง (ตั้ง คกก. ประกวดราคา คกก. ตรวจรับ/ตรวจการจ้าง) - คัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลางฯ ทำประกาศเชิญชวน 12 คณะกรรมการประกวดราคา พิจารณาผลการเสนอราคา ดำเนินการตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ต่อไป รับซองข้อเสนอด้านเทคนิค 3 ผลการเสนอราคา 4 14 13 การคัดเลือกเบื้องต้นเพื่อเป็นผู้มีสิทธิเสนอราคา อุทธรณ์ ไม่อุทธรณ์ 5 ผลการอุทธรณ์ 7 ผลการคัดเลือก 16 15 ไม่อุทธรณ์ อุทธรณ์ ฟังไม่ขึ้น ฟังขึ้น ดำเนินการตามระเบียบฯ 2549 17 ผลการอุทธรณ์ สั่งดำเนินกระบวนการเสนอราคาใหม่ 9 8 ฟังไม่ขึ้น ฟังขึ้น ดำเนินการตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ต่อไป 10 เพิ่มชื่อผู้มีสิทธิเสนอราคา

  11. แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดำเนินการ e-Auction ขั้นตอนที่ 1 ร่าง TOR และเอกสารประกวดราคา

  12. สาระสำคัญของแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0408.3/ว 59 ลงวันที่ 17 ก.พ. 2549

  13. ปัจจุบันมีการผ่อนผันตาม ว. 182 แนวทางการจัดทำร่าง TOR - ตามระเบียบข้อ 8(1) แต่งตั้ง คณะกรรมการ ร่าง TOR จัดทำ ร่าง TOR เมื่อทำร่างเสร็จแล้ว ให้ขออนุมัติจาก หัวหน้าหน่วยงาน ทุกครั้ง ไม่ว่าจะแก้ไขหรือ ไม่แก้ไขก็ต้องนำ ลงเว็บไซต์เผยแพร่ อีกครั้ง (เผยแพร่ครั้งที่ 2) นำสาระสำคัญที่สามารถ เผยแพร่ได้ประกาศทางเว็บไซต์ ของหน่วยงานและของ กรมบัญชีกลาง (เผยแพร่ครั้งที่ 1)

  14. จะแต่งตั้ง คกก. จำนวนกี่คนก็ได้ ตามความจำเป็นและเหมาะสม

  15. จัดทำร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา หัวข้อการร่าง TOR อย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1) ความเป็นมา 2) วัตถุประสงค์  3) คุณสมบัติผู้เสนอราคา  4) แบบรูปรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะ 5) ระยะเวลาดำเนินการ 6) ระยะเวลาส่งมอบของหรืองาน 7) วงเงินในการจัดหา

  16. หลักการในการกำหนด Spec. ** การกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรืองานจ้าง / คุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน **การวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน แต่ละรายว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ **เป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใช้ดุลยพินิจกำหนดและวินิจฉัยได้ตามความต้องการของหน่วยงาน แต่ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้

  17. เปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาส ให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม 1 2 ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 15 ทวิ วรรคหนึ่ง *** - ต้องดำเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยคำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคา หรือผู้เสนองาน เว้นแต่ กรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเป็นข้อยกเว้น ตามที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 ข้อ 17 - การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ การออกแบบรูปรายการก่อสร้างโดยละเอียด ให้หัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบควบคุมดูแลให้เป็นไปอย่างโปร่งใส

  18. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา พิจารณาตามตัวอย่างเอกสาร ประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด งานซื้อ/จ้าง ทั่วไป งานจ้าง ก่อสร้าง 2 1 ต้อง ทำตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ ด่วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 ***

  19. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 1. ต้องเป็นผู้มีอาชีพขาย หรือ รับจ้าง 2. ไม่เป็นผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน และ ได้แจ้งเวียน ชื่อแล้ว หรือ ไม่เป็นผู้ได้รับผลของการสั่งให้นิติบุคคลหรือ บุคคลอื่นเป็นผู้ทิ้งงาน 3. ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน (ณ วันประกาศ) 3.1 การซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ 35 ผู้เสนอราคารายอื่น 3.2 การซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ 49 ผู้เสนอราคารายอื่น , ผู้ให้บริการกลางอิเล็กทรอนิกส์ หรือไม่เป็นผู้กระทำการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม

  20. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ***ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 4. ไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้น ศาลไทย เว้นแต่ รัฐบาลของผู้เสนอราคาได้มีคำสั่งให้สละสิทธิ์ และ ความคุ้มกันเช่นว่านั้น ** 5. ต้องผ่านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้นในการซื้อหรือจ้าง ** 6. ผู้เสนอราคาต้องเป็น นิติบุคคล และ มี ผลงานก่อสร้างประเภท เดียวกัน กับงานที่ประกวดราคาจ้าง ในวงเงินไม่น้อยกว่า.....บาท และ เป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับส่วนราชการ หน่วยงาน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ

  21. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ***ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.1 กรณีความเป็นนิติบุคคล งานก่อสร้าง วงเงินตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป ผู้เสนอราคา ต้องเป็นนิติบุคคล ตามกฎหมาย มติ ครม. 6 มิ.ย. 21 – ด่วนมาก ที่ สร 0203/ว 80 ลว. 8 มิ.ย. 21 3

  22. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ***ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.2 กรณีผลงาน เพื่อให้ได้ทราบถึงศักยภาพของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ** งานก่อสร้าง ** กำหนดได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ มติ ครม. 28 ธ.ค. 36 – ด่วนมาก นร 0202/ว 1 ลว. 3 ม.ค. 37 ต้องเป็นผลงานในสัญญาเดียวเท่านั้น นร (กวพ) 1204/ว 11441 ลว. 28 พ.ย. 39 5 1 4

  23. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา • ***ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** • 6.2 กรณีผลงาน • งานก่อสร้าง (ต่อ) • ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้าง • คือ ผลงานที่ใช้เทคนิคในการดำเนินการเหมือนกัน • เป็นผลงานที่ผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตามสัญญา • ที่ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว • ต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ • หรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจาก • การรับจ้างช่วง • (แนววินิจฉัยของ กวพ.)

  24. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา 6 ** ผลงาน กรณีกิจการร่วมค้า นร (กวพ) 1305/ว 2457 ลว. 16 มี.ค.43 • จดทะเบียน • คุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไข • คุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้าง ..... ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าได้ • ไม่จดทะเบียน • คุณสมบัติทุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข • ข้อยกเว้น • ตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร • ให้ใครเป็นผู้รับชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐานพร้อมซองข้อเสนอราคา / ของข้อเสนอทางเทคนิค • ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าหลักได้

  25. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป *** ไม่มีหลักเกณฑ์เรื่องการกำหนดผลงาน แต่หากจำเป็นต้องกำหนด ก็เป็นดุลยพินิจ ของส่วนราชการที่จะอนุโลมนำหลักเกณฑ์ ของงานก่อสร้างมาใช้ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.) กรณีทุนจดทะเบียน กำหนดไม่ได้(แนววินิจฉัยของ กวพ.)

  26. การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของการระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ มติ ครม. ตามหนังสือ ที่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12 และ ที่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19 งานซื้อ 1 คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของ *** ห้าม *** 1. กำหนดให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง 2. ระบุยี่ห้อสิ่งของที่จะซื้อ เว้นแต่ ที่มีข้อยกเว้นไว้ เช่น ยารักษาโรค เครื่องอะไหล่ เป็นต้น

  27. การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของการระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ มติ ครม. 23 มี.ค. 20 (ที่ สร 0203/ว 52 ลว. 28 มี.ค. 20) งานก่อสร้าง กำหนดรายการในการก่อสร้าง 2 1. มี มอก. หรือ กระทรวง อุตสาหกรรมรับรองแล้ว หรือ มีมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่น กำหนดไว้ ก็ให้ระบุตาม มาตรฐานนั้นได้ ตามความ จำเป็น 2. กรณียังไม่มีมาตรฐาน ถ้าส่วนราชการ จำเป็นต้องใช้สิ่งของที่เห็นว่ามีคุณภาพดี เป็นที่นิยมใช้ในขณะนั้น และจำเป็นต้อง ระบุชื่อยี่ห้อสิ่งของ ก็ให้ระบุได้ แต่ต้องให้มากยี่ห้อที่สุดเท่าที่จะสามารถ ระบุได้ และสิ่งของที่มีคุณภาพเทียบเท่ากัน ก็ให้ใช้ได้ด้วย

  28. หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ **มติ ครม. 21 เม.ย. 52 - ด่วนที่สุด ที่ นร 0505/ว 89 ลว. 28 เม.ย. 52** เรื่อง ข้อเสนอมาตรการเพื่อลดผลกระทบจากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ต่อภาค อุตสาหกรรมไทย (การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทย) ส่วนราชการ ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 16 มติ ครม. 29 พ.ค. 50 (ว.83) เคร่งครัด รัฐวิสาหกิจและ องค์การมหาชน องค์ปกครอง ส่วนท้องถิ่น ขอความร่วมมือ + ขอความร่วมมือ ระวัง ไม่ให้ขัดหรือแย้ง กับข้อตกลงระหว่างประเทศ Ex. ข้อตกลงขององค์การการค้าโลก การประกวดราคานานาชาติ เป็นต้น

  29. หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ ห้ามกำหนด Spec. กีดกัน ผู้ผลิต/ผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทย(16(1)) ระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2535 ข้อ 16 ให้ส่วนราชการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทย พัสดุ ที่ต้องการ ซื้อ/จ้าง มีผู้ได้รับการจดทะเบียน ผลิตภัณฑ์ ให้กำหนด Spec. หรือรายการในการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับคู่มือผู้ซื้อ หรือ ใบแทรกคู่มือผู้ซื้อ (16(3)) มีประกาศ มอก. ให้กำหนด Spec.หรือรายการในการ ก่อสร้างตามมาตรฐาน มอก. หรือ ระบุเฉพาะหมายเลข มอก. ก็ได้ (16(2)) จำเป็นต้องกำหนดแตกต่าง ให้แจ้ง สมอ. (16(4))

  30. หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ ส่วนที่ 1 ให้กำหนด Spec. หรือรายการในการก่อสร้าง ตามประกาศมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) หรือ รายการจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ ที่ปรากฏในคู่มือผู้ซื้อ ตามนัยข้อ 16 (2) – (4)

  31. หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ ส่วนที่ 2ให้กำหนดเงื่อนไขในส่วนของพัสดุที่ผู้เสนอราคาจะเสนอให้หน่วยงานพิจารณา เกี่ยวกับ - ผู้ได้รับอนุญาตให้แสดงเครื่องหมาย มอก. - ผู้ได้รับการจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ - พัสดุที่ผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ (ISO 9000) ตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏในคู่มือผู้ซื้อ ตามนัยข้อ 16 (5) – (11) เฉพาะเงื่อนไขเกี่ยวกับ มอก. และ ISO

  32. www.tisi.go.th หาประกาศ มอก. หาผลิตภัณฑ์จดทะเบียน หาผู้ได้รับอนุญาต มอก. หา ISO

  33. หาประกาศ มอก. หาผลิตภัณฑ์จดทะเบียน หาผู้ได้รับอนุญาต มอก. หา ISO

  34. หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ ส่วนที่ 3 ให้กำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับ สิทธิในการพิจารณาราคา ตามนัยข้อ 16 (6) – (11)

  35. การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย (ข้อ 16)

  36. การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย (ข้อ 16)

  37. แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดำเนินการ e-Auction ขั้นตอนที่ 1.1 - คำนวณราคากลาง (กรณีก่อสร้าง) - ทำรายงานขอซื้อของจ้าง (ตั้ง คกก. ประกวดราคา คกก. ตรวจรับ/ตรวจการจ้าง) - คัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลางฯ

  38. กรณีงานจ้างก่อสร้าง ให้แต่งตั้ง คณะกรรมการกำหนดราคากลางก่อน ควรแต่งตั้งผู้ที่มีความรู้ทางด้านก่อสร้างร่วมเป็นกรรมการด้วย การคำนวณราคากลาง กรณีที่หน่วยงานไม่มีผู้มีความรู้ทางด้านก่อสร้าง ก็สามารถขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นได้ เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จให้เสนอหัวหน้าส่วนราชการให้ใช้เป็นราคากลางในการก่อสร้างและใช้เป็นราคาเริ่มต้นในการประกวดราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

  39. ระเบียบและมติคณะรัฐมนตรีที่กำหนดให้ต้องคำนวณราคากลางงานก่อสร้างระเบียบและมติคณะรัฐมนตรีที่กำหนดให้ต้องคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง การกำหนดราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ มีระเบียบและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องให้ต้องดำเนินการ ดังนี้ ระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 27 กำหนดให้ก่อนดำเนินการซื้อหรือจ้างทุกวิธี ให้เจ้าหน้าที่พัสดุต้องจัดทำรายงานเสนอหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการจัดซื้อหรือจัดจ้าง โดยในกรณีของงานก่อสร้างจะต้องมีราคากลางเป็นรายละเอียดประการหนึ่งที่ต้องระบุไว้ในรายงาน ด้วย ในการประมูลงานก่อสร้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2549 กำหนดให้ประกาศราคากลางในร่าง TOR และให้ใช้ราคากลางเป็นราคาเริ่มต้นการประมูล มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550 กำหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐกำหนดราคากลางงานก่อสร้างตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด รวมทั้งให้มีการประกาศและเปิดเผยราคากลางในการดำเนินการจัดจ้างก่อสร้างทุกครั้ง ด้วย

  40. การทำรายงานขอซื้อ–จ้างการทำรายงานขอซื้อ–จ้าง หลักการ ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ข้อยกเว้นข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องมีรายงาน ตามระเบียบ ฯ 35 ข้อ 27

  41. รายละเอียดของรายงาน • เหตุผลความจำเป็น • รายละเอียดของพัสดุ (กรณี e – Auction ต้องผ่านการวิจารณ์แล้ว) • ราคามาตรฐาน หรือ ราคากลาง หรือ ราคา ครั้งหลังสุด ไม่เกิน 2 ปี • วงเงินที่จะซื้อ / จ้าง • กำหนดเวลาที่ต้องการใช้ / ให้งานแล้วเสร็จ • วิธีที่จะซื้อ / จ้าง • ข้อเสนออื่น ๆ • - การแต่งตั้งคณะกรรมการ • - การออกประกาศสอบราคา หรือ • ประกวดราคา

  42. การแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาการแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคา หน่วยงานที่จัดหา ต้องแจ้งรายชื่อ คณะกรรมการประกวดราคา พร้อมแนบสำเนาบัตรประชาชน และรับรองสำเนาถูกต้อง เพื่อขออนุมัติจากกรมบัญชีกลาง ตามแบบ บก.001-1 กรมบัญชีกลางจะส่ง แบบตอบรับการแต่งตั้ง คณะกรรมการฯ ไปให้ ตามแบบ บก. 001-2 การดำเนินการตามนี้ สามารถทำควบคู่ไปกับการจัดทำร่าง TOR ในการซื้อหรือจ้างครั้งเดียวกัน ห้ามแต่งตั้งผู้ที่เป็นกรรมการประกวดราคาเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ปัจจุบันมีการผ่อนผันตาม ว. 182

  43. ประธานกรรมการ เป็น บุคลากรจากหน่วยงาน ที่จัดหาพัสดุ คณะกรรมการประกวดราคาที่แต่งตั้งจากบุคคลภายนอก ซึ่งมิได้เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ คณะกรรมการประกวดราคาจะต้องมีคุณสมบัติเบื้องต้น ดังนี้ • เป็นผู้บรรลุนิติภาวะและมีสัญชาติไทย • ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียหรือผลประโยชน์ใดๆ กับผู้ที่ประสงค์จะเสนอราคาไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม • ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติด • ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ • ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากหน่วยงาน

  44. การคัดเลือกตลาดกลาง และการกำหนดวัน เวลา สถานที่เสนอราคา คัดเลือกตลาดกลางจากทะเบียน รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลาง และกำหนดวัน เวลา สถานที่ เสนออธิบดีกรมบัญชีกลาง เพื่อขออนุมัติ ตามแบบ บก.002-1 หากหน่วยงานมีความจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง ก็ให้แจ้งเปลี่ยนแปลงไปยังกรมบัญชีกลาง ตามแบบ บก.003-1 กรมบัญชีกลางจะส่งแบบตอบรับ การเปลี่ยนแปลงไปให้ ตามแบบ บก.003-2 ปัจจุบันมีการผ่อนผันตาม ว. 182 กรมบัญชีกลางจะส่ง แบบตอบรับไปให้ ตามแบบ บก. 002-2

  45. กำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดกำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT ผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ • บมจ. กสท. โทรคมนาคม • 2) บจก. บีส ไดเมนชั่น • 3) บจก. พันธวณิช • บจก. ไอ ซี เอ็น ซิสเต็ม • 5) บจก. ป๊อป เนทเวอรค์ • บจก. ซอฟแวร์ลิงค์ • บจก.ฟรีอินเตอร์เน็ท • บจก.ดาต้าแมท • บจก.นิวตรอนการประมูล • บจก. อินเทลลิเจนท์ โซลูชั่น แอนด์เซอร์วิส • บจก. สเปซไวร์ • 12)บจก. สวนกุหลาบเซอรารี่ซิล

  46. ค่าใช้จ่ายของผู้ให้บริการตลาดกลางค่าใช้จ่ายของผู้ให้บริการตลาดกลาง กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุดที่ กค (กวพอ) 0408.3/ว 108 ลว. 27 มี.ค. 50 ค่าใช้จ่ายเดินทาง ค่าใช้จ่ายในการให้บริการเสนอราคา • คิดจากผู้ชนะราคา • คิดจากวงเงินที่ทำสัญญา /ให้แจ้งหนี้ • ได้เมื่อประกาศผลผู้ชนะราคา • ให้ผู้ชนะราคา ชำระก่อนทำสัญญา • คิดเฉพาะเดินทางจริง • ห้ามคิดกรณีมีสาขาในจังหวัดที่ให้บริการ • ห้ามคิดนอกเหนือที่กำหนด หรือ ลด แจก แถม • ของสมนาคุณให้แก่ผู้เสนอราคา/หรือหน่วยงาน • ที่จัดหาพัสดุ ไม่เกิน 2 ล้าน = 6,000 บาท เกิน 2 ล้าน - 10 ล้าน= 0.4 % (ไม่เกิน 10,000 บาท) เกิน10 ล้าน -25 ล้าน = 0.15% (ไม่เกิน 20,000 บาท) สูงกว่า 25 ล้าน= 0.10% (ไม่เกิน 30,000บาท) ระยะทางไม่เกิน 150 กม. = ไม่จ่าย 151 – 250 กม. = 2,500 บาท 251 – 500 กม. = 5,000 บาท เกิน 500 กม. = 10,000 บาท * กรณีไม่มีการทำสัญญา/ยกเลิกประกวดราคา ไม่คิดค่าใช้จ่าย หากเก็บไปแล้วให้คืนภายใน ๗วันนับจากรับแจ้งจากผู้ชนะราคา

  47. ระบบเปิด (ตัวอย่างการให้บริการของบริษัท CAT)

  48. ระบบปิด (ตัวอย่างการให้บริการของบริษัท CAT)

  49. แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดำเนินการ e-Auction ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 รับซองข้อเสนอด้านเทคนิค ทำประกาศเชิญชวน

  50. การเผยแพร่เอกสารประกาศเชิญชวนการเผยแพร่เอกสารประกาศเชิญชวน กรณีการแจกจ่าย หรือจำหน่ายเอกสารประกวดราคา  ต้องทำ ณ สถานที่ที่กำหนด ต้องจัดเตรียมเอกสารให้มากพอสำหรับความต้องการของผู้ขอหรือขอซื้อ รายละ 1 ชุด โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ในการให้หรือจำหน่าย

More Related