220 likes | 677 Views
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิ และการเลือกข้าราชการ พลเรือน เพื่อเป็นอนุกรรมการใน อ.ก.พ.สามัญ พ.ศ. ๒๕๕๒. ที่มา.
E N D
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิและการเลือกข้าราชการพลเรือนเพื่อเป็นอนุกรรมการใน อ.ก.พ.สามัญ พ.ศ. ๒๕๕๒
ที่มา มาตรา ๑๔ บัญญัติให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยย่อว่า อ.ก.พ. สามัญ ได้แก่ อ.ก.พ. กระทรวง อ.ก.พ. กรม และ อ.ก.พ. จังหวัด เพื่อทำหน้าที่เป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคลของกระทรวง กรม จังหวัด ตามลำดับ มาตรา ๒๑ บัญญัติให้ออก กฎ ก.พ. เพื่อกำหนด ๑. หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็น อนุกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ใน อ.ก.พ. กระทรวง อ.ก.พ. กรม และ อ.ก.พ. จังหวัด ๒. หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกข้าราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นอนุกรรมการ ใน อ.ก.พ. กระทรวง อ.ก.พ. กรม และ อ.ก.พ. จังหวัด ๓. วาระการดำรงตำแหน่ง และจำนวนขั้นต่ำของอนุกรรมการดังกล่าว
ผู้ทรงคุณวุฒิ ๓ ด้าน (ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการบริหารและการจัดการ และด้านกฎหมาย)มิได้เป็น ขรก.ในกระทรวงนั้น ไม่เกิน ๓ คน ผู้ทรงคุณวุฒิ ๓ ด้าน มิได้เป็น ขรก.พลเรือนในจังหวัดนั้นไม่เกิน ๓ คน ผู้ทรงคุณวุฒิ ๓ ด้าน มิได้เป็น ขรก. ในกรมนั้นไม่เกิน ๓ คน องค์ประกอบของ อ.ก.พ.สามัญ อ.ก.พ.กระทรวง (ม. ๑๕) อ.ก.พ.กรม (ม. ๑๗) อ.ก.พ.จังหวัด (ม. ๑๙) รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ประธาน ปลัดกระทรวง รองประธาน ผู้แทน ก.พ. อนุกรรมการ ผู้ว่าฯ ประธาน รองผู้ว่าฯ รองประธานที่ผู้ว่าฯมอบหมาย อธิบดี ประธาน รองอธิบดี รองประธานที่อธิบดีมอบหมาย อ.ก.พ.โดยตำแหน่ง อ.ก.พ.ผู้ทรงคุณวุฒิ ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารหรืออำนวยการที่กระทรวง/กรมแต่งตั้งประจำจังหวัดนั้นที่ได้รับเลือกจากผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวไม่เกิน ๖ คนไม่สังกัดกระทรวงเดียวกัน ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงในกระทรวงนั้นที่ได้รับเลือกจากผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวไม่เกิน ๕ คน ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารหรืออำนวยการในกรมนั้นที่ได้รับเลือกจากผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวไม่เกิน ๖ คน อ.ก.พ. ข้าราชการผู้ได้รับเลือก
อำนาจหน้าที่ของ อ.ก.พ. สามัญ • กำหนดนโยบาย ระบบ ระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล • พิจารณาการเกลี่ยอัตรากำลังภายในส่วนราชการ (ยกเว้น อ.ก.พ. จังหวัด) • พิจารณาดำเนินการทางวินัย และการสั่งให้ออกจากราชการ • ปฏิบัติการอื่นตาม พ.ร.บ.ฯ และช่วย ก.พ. ตามที่ ก.พ. มอบหมาย
หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิ และการเลือกข้าราชการพลเรือนเป็นอนุกรรมการใน อ.ก.พ. สามัญ
อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กระบวนการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิและการเลือกข้าราชการเป็นอนุกรรมการใน อ.ก.พ.สามัญ การสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิ การเลือกข้าราชการ อ.ก.พ. โดยตำแหน่ง กำหนดจำนวน- อ.ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิ (๒-๓ คน) - อ.ก.พ.ขรก. ผู้ได้รับเลือก (ใน อ.ก.พ. กระทรวง ๓-๕ คนใน อ.ก.พ. กรม จังหวัด ๓-๖ คน) คณะกรรมการสรรหา ๓ คน ส่วนราชการ • รองปลัด/รองอธิบดี/รองผู้ว่าฯ ซึ่งรับผิดชอบ HRเป็นประธาน- กรรมการ ๒ คน (ผู้มีความรู้ ประสบการณ์ด้านบริหาร ด้านบริหารงานบุคคล ด้านกฎหมาย มีความเป็นกลางทางการเมือง)* ขรก. ผู้รับผิดชอบ HRเลขานุการ - จัดทำบัญชีรายชื่อ ขรก. ผู้มีคุณสมบัติ - จัดให้ ขรก.ที่มีคุณสมบัติ ดำเนินการ เลือก ขรก. เป็นอนุกรรมการ กรณีรายชื่อมีจำนวนเกินกว่าที่กำหนด กรณีรายชื่อ ขรก.มีจำนวนไม่เกินที่กำหนด เลือกผู้ทรงคุณวุฒิจากบัญชีที่เลขานุการจัดทำด้านละไม่น้อยกว่า ๒ คน เพื่อเสนอ กก.คัดเลือก จัดให้มีการประชุมลงคะแนนเลือก ขรก./ส่งบัตรเลือก ขรก. ผู้ที่มีรายชื่อเป็นผู้ได้รับคัดเลือกเป็นอนุกรรมการ คณะกรรมการคัดเลือก - ประธาน อ.ก.พ. สามัญ เป็นประธาน - อ.ก.พ.โดยตำแหน่ง - ข้าราชการผู้ได้รับเลือก ขรก.ที่ได้คะแนนสูงตามลำดับคะแนนเป็นผู้ได้รับเลือกเป็นอนุกรรมการ คัดเลือกจากบัญชีรายชื่อที่ ก.ก.สรรหา เสนอ ๒-๓ คน (๓ ด้าน) ข้าราชกการผู้ได้รับเลือก 6
การเลือกข้าราชการพลเรือนเป็นอนุกรรมการใน อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. โดยตำแหน่ง อ.ก.พ. โดยตำแหน่ง กำหนดจำนวน ๓-๖ คน สรก.จัดทำรายชื่อ ขรก.ที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด อ.ก.พ.ผู้ทรงคุณวุฒิ อ.ก.พ. จังหวัด กรณีผู้มีคุณสมบัติไม่เกินจำนวนที่กำหนดให้ข้าราชการดังกล่าวเป็นผู้ได้รับเลือก กรณีมีผู้มีคุณสมบัติเกินกว่าจำนวนที่กำหนด • จัดประชุมลงคะแนน หรือส่งบัตรเลือก ขรก. • แต่งตั้ง คกก. ตรวจนับคะแนนไม่น้อยกว่า ๓ คน (ขรก. ดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการ/วิชาการ ไม่ต่ำกว่าระดับชำนาญการพิเศษ) • ผู้ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับ เป็นผู้ได้รับเลือก • ขึ้นบัญชี ขรก. ผู้ได้รับเลือก ๑ ปี อ.ก.พ.ข้าราชการ ผู้ได้รับเลือก ข้าราชการตำแหน่งประเภทบริหารหรือประเภทอำนวยการซึ่งกระทรวงหรือกรมแต่งตั้งไปประจำจังหวัดเลือกจากผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว ไม่เกิน ๖ คน ต้องไม่สังกัดกระทรวงเดียวกัน กรณีตำแหน่งว่างก่อนครบวาระ ดำเนินการภายใน ๓๐ วัน โดยแต่งตั้งผู้ที่เหลืออยู่ในบัญชีตามลำดับคะแนนจนกว่าจะหมดบัญชี หรือบัญชีหมดอายุ จึงดำเนินการเลือกใหม่
การสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิเป็นอนุกรรมการใน อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. โดยตำแหน่ง กำหนดจำนวน ผู้ทรงคุณวุฒิ ๒-๓ คน กรรมการสรรหา ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง • รองผู้ว่าฯ ที่รับผิดชอบด้าน HRประธาน • กรรมการ ๒ คน (ผู้มีความรู้ ประสบการณ์ด้านบริหาร บริหารงานบุคคล กฎหมาย และมีความเป็น กลางทางการเมือง) กรณีแต่งตั้งผู้มิได้เป็นข้าราชการ ไม่เกิน ๑ คน • ข้าราชการที่รับผิดชอบ HRเลขานุการ วาระ ๓ ปี อ.ก.พ.โดยตำแหน่ง อ.ก.พ.ผู้ทรงคุณวุฒิ๓ ด้าน อ.ก.พ. จังหวัด ฝ่ายเลขาฯ จัดทำบัญชีรายชื่อ จากรายชื่อที่กรรมการสรรหาเสนอ+รายชื่อที่ฝ่ายเลขาฯ จัดหาพร้อมประวัติและผลงานโดยย่อ เลือกจากบัญชีรายชื่อที่ฝ่ายเลขาฯเสนอและจัดทำรายชื่อด้านละไม่น้อยกว่า ๒ คน • ด้านบริหารทรัพยากร บุคคล • ด้านบริหารจัดการ • ด้านกฎหมาย อ.ก.พ.ข้าราชการ ผู้ได้รับเลือก • ประธาน อ.ก.พ. ประธาน • อ.ก.พ. โดยตำแหน่ง กรรมการ • ขรก.ผู้ได้รับเลือก กรรมการ • เลขานุการ กก.สรรหา เลขานุการ กรรมการคัดเลือก ต้องไม่เป็นข้าราชการพลเรือนในจังหวัดนั้น คัดเลือกจากรายชื่อที่ กก. สรรหาเสนอ ไม่น้อยกว่า ๒ คน ไม่เกิน ๓ คน ต้องครบ ๓ ด้าน ซึ่งให้ความยินยอม กรณีตำแหน่งว่างก่อนครบวาระ สรรหาใหม่ ภายใน ๓๐ วัน รายชื่อไม่เหมาะสมแจ้ง กก. สรรหา เสนอชื่อใหม่
วาระการดำรงตำแหน่งและจำนวนขั้นต่ำวาระการดำรงตำแหน่งและจำนวนขั้นต่ำ ของ อ.ก.พ.ผู้ทรงคุณวุฒิ และ อ.ก.พ.ข้าราชการผู้ได้รับเลือก วาระการดำรงตำแหน่งของอนุกรรมการ ๓ ปี พ้นจากตำแหน่งตามวาระแต่งตั้งใหม่ภายใน ๖๐ วัน • จำนวนขั้นต่ำ • อ.ก.พ.ผู้ทรงคุณวุฒิ ๒ คน • อ.ก.พ.ข้าราชการผู้ได้รับเลือก ๓ คน
ตำแหน่งว่างก่อนครบวาระตำแหน่งว่างก่อนครบวาระ อ.ก.พ. ข้าราชการผู้ได้รับเลือก แต่งตั้งผู้ที่เหลืออยู่ในบัญชีตามลำดับคะแนนจนกว่าจะหมดบัญชี หรือบัญชีหมดอายุ จึงดำเนินการเลือกใหม่ อ.ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินการสรรหาใหม่ • ดำเนินการภายใน ๓๐ วัน • วาระเหลือไม่ถึง ๑๘๐ วัน ไม่ตั้งแทนก็ได้