50 likes | 150 Views
อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ ผลิตภัณฑ์โลหะ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้.
E N D
อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ ผลิตภัณฑ์โลหะ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธรจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ ศูนย์วิทยุชุมชน อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) • ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ การบริหารจัดการกำลังคน • เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดอุบลราชธานี สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 1,169 แห่ง (สปช. 1,094 แห่ง และสศ. 75 แห่ง) สังกัด เอกชน 103 แห่ง สังกัด กศน. 26 แห่ง สังกัด สกอ. 4 แห่ง สังกัด สอศ. 8 แห่ง 1.วท.อบลราชธานี 2. วท.เดชอุดม 3. วอศ.อุบลราชธานี 4. วษท.อุบลราชธานี 5. วช.อุบลราชธานี 6. วก.ตระการพืชผล 7. วก.เขมราฐ 8. วก.วารินชำราราบ • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นราชธานีแห่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ทิศเหนือและทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับ • ประเทศฯลาว • ทิศใต้ มีเขตติดต่อกับประเทศฯกัมพูชา • มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 2 ของภาค เป็นอันดับ 5 ของ • ประเทศไทย • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดนช่องแม็ก อ.สิรินธร • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 33,291 บาท ต่อปี อันดับ 6 • ของภาค อันดับ 63 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการขายส่ง • การขายปลีก 28.28 % รองลงมาจากภาคเกษตร • 13.9 % และ สาขาการผลิตอุตสาหกรรม 11.84% • อาชีพที่สำคัญของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาข้าว และปลูกพืชไร่ เช่น • ปอแก้ว มันสำปะหลัง ถั่วลิสง และการเลี้ยงปศุสัตว์ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,774,808 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19จำนวน144,741 คน หรือ12.38% • จำนวนผู้ว่างงาน 20,478 คน เป็นชาย 11,212 คน เป็นหญิง 9,266 คน อัตราการว่างงาน 1.2 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมสูงที่สุดจำนวน 561,573 คนหรือ 64.43% • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 335,538 คน หรือ 38.51% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจในครัวเรือน 298,403 คน หรือ34.25% และเป็นลูกจ้างเอกชน 148,790 คน หรือ 17.08% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง 2) แปรรูปผลิตภัณฑ์จากพืชผลกการเกษตร • 3) แคปหมูสมุนไพร 4) แปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย 5) ขนมมะพร้าวแก้ว • 6) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเผือก 7) การทำหม่ำ 8) การตีเหล็กขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ • ใช้ในครัวเรือน 9) การผลิตลวดหนาม 10) การเลี้ยงปลาดุก • (ที่มา อศจ.อุบลราชธานี) • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 8,888 คน หรือ 1.02% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 713,279 คน หรือ 81.83% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 11,821 คน หรือ 1.36% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 16 แห่ง มีการจ้างงาน 4,082 คน รองลง • อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ ผลิตภัณฑ์โลหะ มีสถานประกอบการ 170 แห่ง มีการจ้างงาน 1,411 คน และอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 86 แห่ง มีการจ้างงาน 1,400 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ
จังหวัดอำนาจเจริญ สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 285 แห่ง (สปช. 261 แห่ง และ สศ. 24 แห่ง) สังกัด เอกชน 16 แห่ง สังกัด กศน. 7 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 2แห่ง 1.วท.อำนาเจริญ 2. วก.หัวตะพาน • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ภาคตะวันออก มีเขตติดต่อกับประเทศฯลาว • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 17,530บาท ต่อปี (อันดับ 18 • ของภาค อันดับ 76 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 26.12 % รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก 19.8 % • อาชีพที่สำคัญของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาข้าว การปลูกพืชไร่ เช่น • ถั่วลิสง มันสำปะหลัง ปอแก้ว และอ้อย • ประชากร • จำนวนประชากร 368,791 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19จำนวน29,354 คน หรือ11.84% • จำนวนผู้ว่างงาน 3,586 คน เป็นชาย 1,679 คน เป็นหญิง 1,907 คน อัตราการว่างงาน 0.6% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 182,151 คนหรือ 56.42% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 50,290 คน หรือ 15.58 % และด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง 35,637 คน หรือ 11.04% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การเพาะเห็ด 2) การทอผ้าพื้นเมือง 3) การทำปุ๋ยอินทรีย์ 4) การทอเสื่อกก • 5) การทอมู่ลี่ไม้ไผ่ 6) ช่างเชื่อม 7) ช่างไฟฟ้า 8) ช่างยนต์ • 9) การทำไม้กวาด 10) การทำเครื่องจักรสาน (ที่มา อศจ.อำนาจเจริญ) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 124,892 คน หรือ 38.68% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 88,032 คน หรือ 27.27% และเป็นลูกจ้างเอกชน 80,257 คน หรือ 24.86% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 3,667 คน หรือ 1.14% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา267,878 คน หรือ 82.98% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 3,446 คน หรือ 1.07% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 3 แห่ง มีการจ้างงาน 470 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดศรีสะเกษ สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 975 แห่ง (สปช. 882 แห่ง และ สศ. 93 แห่ง) สังกัด เอกชน 31 แห่ง สังกัด กศน. 21 แห่ง สังกัด สกอ. 1 แห่ง สังกัด สอศ. 6แห่ง 1. วท.ศรีสะเกษ 2. วษท.ศรีสะเกษ 3. วช.ศรีสะเกษ 4. วก.ศรีสะเกษ 5. วก.กันทรลักษณ์ 6. วก.ขุนหาญ • .ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้ มีเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย • แนวเขตชายแดนยาว 127 กม. • ทิศตะวันตกมีเขตติดกับจังหวัดอุบลราชธานี • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดน ช่องสะงำ • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 24,403บาท ต่อปี(อันดับ 16 • ของภาค อันดับ 73 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 29.45% รองลงมา • ภาคเกษตร 22.29 % • อาชีพที่สำคัญของจังหวัด • เกษตรกรรม ทำนา เพาะปลูกพืชไร่ เช่น หอม กระเทียม • ข้าวโพด มันสำปะหลัง ปอแก้ว และการเลี้ยงสัตว์ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,443,975 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน 111,617 คน หรือ11.60% • จำนวนผู้ว่างงาน 9,116 คน เป็นชาย 5,504 คน เป็นหญิง 3,612 คน อัตราการว่างงาน 1.06 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 630,662 คนหรือ 74.20% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้าย 2) ผลิตดอกไม้จากผ้าใยบัว • 3) ผลิตข้าวกล้องเพื่อจำหน่าย 4) ทอผ้าฝ้าย 5) ทำขนม (ที่มา อศจ.ศรีสะเกษ) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 408,490 คน หรือ 48.06% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 282,432 คน หรือ 33.23 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 19,726 คน หรือ 2.32% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 719,741 คน หรือ 84.67% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 6,756 คน หรือ 0.79% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 11 แห่ง มีการจ้างงาน 1,035 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ
จังหวัดยโสธร สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 422 แห่ง (สปช. 392 แห่ง และสศ.30 แห่ง) สังกัด เอกชน 29 แห่ง สังกัด กศน. 9 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1.วท.ยโสธร 2. วษท.ยโสธร 3. วก.เลิงนกทา • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 30,407บาท ต่อปี (อันดับ11 • ของภาค อันดับ 66 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 27.23% รองลงมา • ภาคเกษตร 21.35 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ข้าวหอมมะลิ แตงโม หมอนขวานลายขิด • ผลิตภัณฑ์ไม่ไผ่ พรมปูพื้น • ประชากร • จำนวนประชากร 541,264 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19จำนวน40,561 คน หรือ11.0% • จำนวนผู้ว่างงาน 250คน เป็นชาย 219 คน เป็นหญิง 31 คน อัตราการว่างงาน 0.1 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมและประมงสูงที่สุดจำนวน 203,025 คนหรือ 66.29% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การปลูกข้าวอินทรีย์ 2) การเลี้ยงโคขุน 3) การทำไส้กรอก • 4) ผลิตภัณฑ์จากกก 5) จักสานจากไม้ไผ่/พลาสติก 6) หัตถเวชกรรม • 7) การจัดดอกไม้บนภาชนะ 8) สลักลายกระจก 9) การเคลือบรูปวิทยาศาสตร์ 10) โคมไฟแฟนซี (ที่มา อศจ.ยโสธร) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 126,668 คน หรือ 41.36% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจในครัวเรือน 106,750 คน หรือ 34.86 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 43 คน หรือ 0.01% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา272,465 คน หรือ 88.97% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 3,344 คน หรือ 1.09% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 8 แห่ง มีการจ้างงาน 1,602 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ