1 / 60

ปฏิบัติการ

หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลและผลงาน เพื่อแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ. การเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน. ตำแหน่งประเภทวิชาการ. ว ๑๖/๓๘. ทรงคุณวุฒิ. เชี่ยวชาญ. ชำนาญการพิเศษ. ว ๑๐/๔๘. ชำนาญการ. นายแพทย์ ทันตแพทย์ นายสัตวแพทย์.

Download Presentation

ปฏิบัติการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ

  2. การเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกันการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ว ๑๖/๓๘ ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญ ชำนาญการพิเศษ ว ๑๐/๔๘ ชำนาญการ นายแพทย์ ทันตแพทย์ นายสัตวแพทย์ ว ๕/๓๖ ปฏิบัติการ

  3. การเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกันการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน ตำแหน่งประเภทวิชาการ คุณสมบัติ ระดับชำนาญการ K2 spec การคัดเลือกโดยวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน + เงินเดือนถึงขั้นต่ำชั่วคราว K2 ๖ ปี (ปริญญาตรี) ๕ ปี (ปริญญาตรีหลักสูตร ๕ ปี) ๔ ปี (ปริญญาโท) ๒ ปี (ปริญญาเอก) ว ๕/๓๖ ระดับปฏิบัติการ K1 นายแพทย์ /ทันตแพทย์ นายสัตวแพทย์

  4. การเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกันการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน ตำแหน่งประเภทวิชาการ คุณสมบัติ ระดับชำนาญการ K2 spec ๖ ปี (ปริญญาตรี) ๕ ปี (ปริญญาตรีหลักสูตร ๕ ปี) ๔ ปี (ปริญญาโท) ๒ ปี (ปริญญาเอก) การประเมินบุคคลและผลงาน ว ๑๐/๔๘ ระดับปฏิบัติการ K1

  5. การเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกันการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน ตำแหน่งประเภทวิชาการ คุณสมบัติ ระดับชำนาญการพิเศษ K3 spec การประเมินบุคคลและผลงาน ๔ ปี ว ๑๐/๔๘ ระดับชำนาญการ K2

  6. ว ๑๐/๒๕๔๘ การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ

  7. สาระสำคัญของหนังสือเวียน ให้มีการคัดเลือกบุคคลก่อนเข้ารับการประเมินผลงาน ให้มีการประกาศผลการคัดเลือกอย่างเปิดเผย โปร่งใส และให้มีการทักท้วงได้ ให้ อ.ก.พ.กรม หรือ คกก. คัดเลือก ที่ อ.ก.พ.กรม แต่งตั้ง เป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลในเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำ

  8. หลักการ • ก.พ. มอบอำนาจให้ อ.ก.พ.กรม บริหารจัดการ เรื่องการประเมินบุคคล ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และชำนาญการพิเศษ อย่างเป็นระบบ โดย อ.ก.พ. กรมต้อง  วางหลักเกณฑ์ & วิธีการประเมินทั้งระบบ  กำหนดองค์ประกอบ & แบบฟอร์ม •  เน้นกระบวนการคัดเลือกคนอย่างโปร่งใส เป็นธรรม

  9. ผลงานที่ส่งประเมิน มีประโยชน์ต่อหน่วยงาน • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • เสนอในรูปการสรุปและวิเคราะห์ • ถึงผล/ประโยชน์ที่เกิดสามารถนำ • ไปเสริมยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน • - ไม่ใช่รวบรวมผลงานย้อนหลัง ส่วนที่ ๑ คุณทำอะไร ? • เสนอแนวคิดวิธีการพัฒนางาน/ • ปรับปรุงงานเชิงรุก • เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ • สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ • ของหน่วยงาน • - นำไปปฏิบัติได้จริง ส่วนที่ ๒ คุณจะทำอะไร

  10. การพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลในเรื่อง ระยะเวลาขั้นต่ำมอบให้ อ.ก.พ.กรม หรือ คณะกรรมการคัดเลือกที่ อ.ก.พ.กรม แต่งตั้ง เป็นผู้พิจารณา

  11. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการตาม ว ๑๐/๔๘

  12. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการตาม ว ๑๐/๔๘

  13. อำนาจหน้าที่ของอ.ก.พ.กรมอำนาจหน้าที่ของอ.ก.พ.กรม กำหนดหลักเกณฑ์ - คุณสมบัติ + องค์ประกอบอื่น - วิธีการคัดเลือกบุคคล + เกณฑ์ตัดสิน - ให้มีการประกาศรายชื่อ ประกาศหลักเกณฑ์ - ให้ข้าราชการทราบทั่วกัน - ระยะเวลาขั้นต่ำ* - คัดเลือกบุคคล* - กรณีมีปัญหาเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำ พิจารณา รายงานผล - การพิจารณาคัดเลือก ต่อผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ* *มอบให้ คกก.คัดเลือกบุคคลที่ อ.ก.พ.กรม แต่งตั้งทำหน้าที่แทนได้ ตรวจสอบข้อมูล - กรณีมีผู้ทักท้วง*

  14. อำนาจหน้าที่ของอ.ก.พ.กรมอำนาจหน้าที่ของอ.ก.พ.กรม  กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ารับการคัดเลือก และกำหนดองค์ประกอบอื่นที่จะต้องเสนอในเบื้องต้น  กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล กำหนดเกณฑ์การตัดสิน และอื่นๆ ตามที่เห็นสมควร - คุณสมบัติของบุคคล - คุณลักษณะของบุคคล - ผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง ๓ ปี - ชื่อผลงาน+เค้าโครงเรื่อง - สัดส่วนของผลงาน (ถ้ามีผู้ร่วมจัดทำ) - ข้อเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนางาน - เกณฑ์การตัดสินในการคัดเลือก - เกณฑ์อื่น ๆ

  15. ให้มีการประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือก ชื่อผลงานพร้อมทั้งเค้าโครงเรื่อง สัดส่วนของผลงาน และกำหนดเวลาให้มีการทักท้วงได้ภายใน ๓๐ วัน นับตั้งแต่วันที่ประกาศ • ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีข้างต้นให้ข้าราชการทราบทั่วกัน

  16. พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำฯ* พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำฯ* • พิจารณาคัดเลือกบุคคล* • วินิจฉัยกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับคุณสมบัติของบุคคลเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำฯ • รายงานผลการพิจารณาคัดเลือกต่อผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ* • ตรวจสอบข้อมูลกรณีมีผู้ทักท้วง* - มีมูล ลงโทษตาม ว ๕/๒๕๔๒ - ถูกกลั่นแกล้ง สอบสวนผู้ทักท้วง

  17. คณะกรรมการประเมินผลงานคณะกรรมการประเมินผลงาน ประธาน กรรมการ (๒-๕ คน)  ข้าราชการ/เคยเป็นข้าราชการซึ่งดำรง/เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ตั้งแต่ระดับชำนาญการพิเศษ/เทียบเท่าขึ้นไป ในสายงานที่ประเมิน/ที่เกี่ยวข้อง(จัดกลุ่ม) ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในความสามารถแล้ว  ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน - มีความชำนาญในสายงานนั้น - ไม่เคยเป็นข้าราชการ  ข้าราชการ/เคยเป็นข้าราชการซึ่งดำรง/เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ตั้งแต่ระดับเชี่ยวชาญ/เทียบเท่าขึ้นไป ในสายงานที่ประเมิน/ ที่เกี่ยวข้อง(จัดกลุ่ม)  ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน - มีความชำนาญในสายงานนั้น - ไม่เคยเป็นข้าราชการ รองอธิบดี / ผอ. สำนัก/เทียบเท่าขึ้นไป ที่ควบคุมดูแลสายงานที่จะประเมิน * ทั้งนี้ นักทรัพยากรบุคคล/ผู้ปฏิบัติงานการเจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับชำนาญการ เป็นเลขานุการ

  18. คณะกรรมการ ประเมินผลงาน สายงาน... แต่งตั้ง อ.ก.พ.กรม วาระการดำรงตำแหน่ง ไม่เกิน ๒ ปี

  19. หน้าที่คณะกรรมการประเมินผลงานหน้าที่คณะกรรมการประเมินผลงาน ๑. กำหนดเงื่อนไขขอบเขตมาตรฐานของผลงานแต่ละสายงานและแต่ละระดับเพิ่มเติมจากที่ก.พ. กำหนดให้เหมาะสมกับลักษณะงานของแต่ละหน่วยงานเพื่อให้ผลงานนั้นเกิดประโยชน์คุ้มค่าและสามารถใช้เสริมยุทธศาสตร์ของหน่วยงานได้เป็นอย่างดี (กรณีการเลื่อน) ๒. กำหนดจำนวนของผลงานที่จะให้ส่งประเมินต้องเป็นผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมาจำนวนอย่างน้อย๑เรื่องและข้อเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนางานจำนวนอย่างน้อย๑เรื่อง (กรณีการเลื่อน) ๓. กำหนดเกณฑ์การตัดสิน /วินิจฉัยปัญหาคุณภาพผลงาน /รายงานผลงาน

  20. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล กรณีการเลื่อนขึ้นในระดับที่สูงขึ้น ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ • ให้คัดเลือกเพื่อเลื่อนในระดับที่สูงกว่าระดับที่ดำรงอยู่ไม่เกิน ๑ ระดับ ปฏิบัติการ • ให้คัดเลือกบุคคลอย่างเป็นระบบ โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ มีการประกาศผลการคัดเลือกอย่างเปิดเผย และเปิดโอกาสให้มีการทักท้วง

  21. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล • การคัดเลือกบุคคล แบ่งออกเป็น ๒ กรณี (บางตำแหน่ง) • ตำแหน่งที่ปรับระดับสูงขึ้นได้จากระดับเริ่มต้นของสายงาน (ตำแหน่งเลื่อนไหล) และมีผู้ครองตำแหน่งอยู่แล้ว ให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ / ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้พิจารณาคัดเลือก • ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งเลื่อนไหล และตำแหน่งว่างทุกกรณี ให้ อ.ก.พ.กรม/คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเป็นผู้พิจารณาคัดเลือก ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ ชำนาญงาน ปฏิบัติการ ปฏิบัติงาน

  22. ขั้นตอน กรณีการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลื่อนไหลและมีคนครองอยู่ เช่น ตน.นักทรัพยากรบุคล ระดับปฏิบัติการหรือชำนาญการ กจ. สำรวจข้อมูล+ ผบ.ประเมิน คุณลักษณะ+ แจ้งผู้มีคุณสมบัติ ส่งเอกสาร ผู้มีอำนาจ ม.๕๗ พิจารณา เสนอผู้มีอำนาจ ม. ๕๗ ดำเนินการ ตาม ว ๕/๔๒ คกก.คัดเลือกสาขาที่เกี่ยวข้อง แจ้งข้าราชการทราบ + ปิดประกาศ มีคนท้วง ตรวจสอบ โดยเร็ว มีมูล ส่งผลงาน ไม่มีมูล เสนอผู้มีอำนาจ ม.๕๗ สอบผู้ทักท้วง

  23. ขั้นตอน กรณีการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งว่างและ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งเลื่อนไหล เช่น นิติกร ระดับชำนาญการพิเศษ กจ. สำรวจข้อมูล+ ผบ.ประเมิน คุณลักษณะ+ แจ้งผู้มีคุณสมบัติ ส่งเอกสาร อ.ก.พ. กรม / คกก. คัดเลือก ตรวจสอบ โดยเร็ว มีมูล พิจารณาคัดเลือก เสนอผู้มีอำนาจ ม. ๕๗ ดำเนินการ ตาม ว ๕/๔๒ เสนอผู้มีอำนาจ ม.๕๗ เห็นชอบ อนุมัติ มีคนท้วง แจ้งข้าราชการทราบ +ประกาศชื่อผู้ได้รับ คัดเลือก+ชื่อผลงาน ไม่มีมูล ส่งผลงาน เสนอผู้มีอำนาจ ม.๕๗ สอบผู้ทักท้วง

  24. การนำเสนอผลงานเพื่อขอประเมิน • ผลงานที่ผ่านมาเป็นผลสำเร็จของงาน ให้นำเสนอในรูปแบบการสรุปวิเคราะห์ถึงผลที่เกิดขึ้น ระบุผลสำเร็จของงาน ประโยชน์ที่เกิดจากผลงานนั้น หรือการนำผลงานไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหางาน ใช้เสริมยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน มิใช่เป็นเพียงการรวบรวมผลงานย้อนหลัง ๑. ผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รับผลงาน

  25. ตัวอย่างที่ ๑ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ๑. ชื่อผลงาน .…………............……...…......… ๒. ระยะเวลาดำเนินการ ………….……………........ ๓. ความรู้ทางวิชาการหรือแนวความคิดที่ใช้ในการดำเนินการ….. ๔. สรุปสาระและขั้นตอนการดำเนินการ …………………. ๕. ผู้ร่วมดำเนินการ (ถ้ามี)…………(สัดส่วน)….……... ๖. ส่วนของงานที่ผู้เสนอเป็นผู้ปฏิบัติ ………………….... ๗. ผลสำเร็จของงาน (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)…………....… ๘. การนำไปใช้ประโยชน์…………………………...… ต่อ

  26. ๙. ความยุ่งยากในการดำเนินการ/ปัญหา/อุปสรรค ………………..… ๑๐. ข้อเสนอแนะ …………………………………………… ขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ ลงชื่อ …………………………… (……………………………) ผู้เสนอผลงาน ……../……….…/……….. ต่อ

  27. ขอรับรองว่าสัดส่วนหรือลักษณะงานในการดำเนินการของผู้เสนอข้างต้นถูกต้องตรงกับความเป็นจริงทุกประการ ลงชื่อ ……………… ลงชื่อ ……….…… (.……………) (.................) ผู้ร่วมดำเนินการ ผู้ร่วมดำเนินการ …../….…/……. ...../......./....... ได้ตรวจสอบแล้วขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นถูกต้องตรงกับความเป็นจริงทุกประการ ลงชื่อ ..................... ลงชื่อ ………….... (.....................) (………………) ตำแหน่ง ................... ผู้อำนวยการสำนัก/กอง…… ...../......../........ …../.......…/….. ผบ.ที่ควบคุมดูแลการดำเนินการ

  28. ๒. ข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือ ปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ข้อเสนอแนวคิด วิธีการ เพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรเป็นแนวคิด วิสัยทัศน์ หรือแผนงานที่จะทำในอนาคตเพื่อพัฒนางานในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้งและสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน รวมทั้งควรเป็นแนวคิดที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง

  29. ตัวอย่างที่ ๒ ข้อเสนอแนวความคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางาน/ปรับปรุงงาน ให้ประสิทธิภาพมากขึ้น ของ ………………………………...........…… เพื่อประกอบการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ………..… ตำแหน่งเลขที่ ….. สำนัก/กอง ………………………… เรื่อง ………….............................……………......... หลักการและเหตุผล …………………………........… บทวิเคราะห์/แนวความคิด/ข้อเสนอ ….………....…...... ผลที่คาดว่าจะได้รับ …………………………….…… ตัวชี้วัดความสำเร็จ …………………………........... ลงชื่อ ........................... (..........................) ผู้เสนอแนวคิด ...../........../......

  30. คุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับแต่งตั้งคุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับแต่งตั้ง เป็นผู้ผ่านการประเมินบุคคล มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง มีคุณสมบัติในเรื่องเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ของสายงานต่างๆ และ/หรือ คุณวุฒิเพิ่มเติมครบถ้วน ตามที่ ก.พ. กำหนด

  31. มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคลและระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ดังนี้ ระดับ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ คุณวุฒิ ๘ ปี ปริญญาตรี ๖ ปี ๖ ปี ปริญญาโท ๔ ปี ๔ ปี ปริญญาเอก ๒ ปี

  32. การเลื่อนตำแหน่งต้องมีต้นทุน ๑ ปี • การนับเกื้อกูลในสายงานต่าง ๆ นับได้ตามข้อเท็จจริงของ ข้าราชการแต่ละราย เว้นแต่ ถ้าเป็นสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ และ ๒ หรือสายงานที่เทียบเท่า นับได้ตามจริงไม่เกินครึ่งหนึ่งของเวลาที่นำมานับ • การนำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งอื่นๆ มานับ ขณะนั้นต้องมีคุณสมบัติตรง SPEC และตรงตามข้อกำหนดอื่น ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ ๓ หรือเทียบเท่า ถ้าปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่จะประเมินต้องมีคำสั่งรักษาราชการ/รักษาการในตำแหน่ง หรือคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่อย่างชัดเจน

  33. ตัวอย่างการนับเกื้อกูลตัวอย่างการนับเกื้อกูล นายสายชลจะเลื่อนตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มีวุฒิ ปวช. เมื่อ ๑๕มี.ค. ๒๕๔๑, ศศ.บ. เมื่อ ๑มี.ค. ๒๕๔๕ ๑๐เม.ย. ๒๕๔๑ จพง.ธุรการ ๒ ๑มี.ค. ๒๕๔๔ จพง.ธุรการ ๓ ๑มี.ค. ๒๕๔๗ จพง.ธุรการ ๔ ๑มี.ค. ๒๕๕๐ จพง.ธุรการ ๕ ๑มี.ค. ๒๕๕๒ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ ๑มี.ค. ๒๕๕๓ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ ผมอยากรู้เวลา เอาล่ะ จะบอกให้ ๑ มี.ค. ๒๕๔๕ ๑ มี.ค. ๔๕ – ๒๘ ก.พ. ๕๒ = ๗ ปี นับได้ไม่เกินครึ่ง ๑ ปี ๒ ปี เศษ

  34. เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้วเมื่อผ่านการคัดเลือกแล้ว ขอส่งผลงานครับ... ส่งผลงานประเมินต่อไปได้ โอ้... สงสัยมาไกล

  35. การแต่งตั้ง • คำสั่ง...../.... • เรื่อง เลื่อนระดับ • ................................ • .................................. • สั่ง ณ วันที่ ........... • (............) • .............. การออกคำสั่งเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ย้อนหลังได้ในกรณี * เป็นการเลื่อนในเลขที่ตำแหน่งเดิม ไม่ก่อนวันที่กรมได้รับคำขอเอกสารครบถ้วนสมบูรณ์ โดยไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติมในส่วนที่เป็นสาระสำคัญของผลงาน * มีการรักษาการในตำแหน่งเลขที่ที่ผู้นั้นจะเลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่ง (เลื่อนในตำแหน่งเลขที่อื่น) ต้องไม่ก่อนวันที่มีคุณสมบัติครบด้วย

  36. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ

  37. การเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกันการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน ตำแหน่งประเภทวิชาการ คุณสมบัติ ระดับเชี่ยวชาญ K4 spec การประเมินบุคคลและผลงาน ๓ ปี ว ๑๖/๓๘ ระดับชำนาญการ พิเศษ K3

  38. การเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกันการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกัน ตำแหน่งประเภทวิชาการ คุณสมบัติ ระดับทรงคุณวุฒิ K5 spec การประเมินบุคคลและผลงาน ๒ ปี ว ๑๖/๓๘ ระดับเชี่ยวชาญ K4

  39. แนวทางการพิจารณาคัดเลือกแนวทางการพิจารณาคัดเลือก ว ๑๖/๓๘ องค์ประกอบที่ใช้ในการพิจารณา ความรู้ความสามารถและความชำนาญในการปฏิบัติงาน ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง เกณฑ์อื่น ๆ การปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการ ผลงานหรือผลการปฏิบัติงาน

  40. แนวทางการพิจารณาคัดเลือกแนวทางการพิจารณาคัดเลือก ว ๑๖/๓๘ แนวทางการดำเนินการคัดเลือก ให้ส่วนราชการ ๑ พิจารณากำหนดองค์ประกอบจากที่กำหนดข้างต้นหรือแตกต่างก็ได้ แต่ให้เน้นผลงานหรือผลการปฏิบัติงานเป็นองค์ประกอบหลัก ๒ ดำเนินการให้ข้าราชการในสังกัดทราบล่วงหน้าตามสมควร ๓ ในการดำเนินการคัดเลือกให้ผู้มีหน้าที่ในการคัดเลือก พิจารณา ตามองค์ประกอบที่กำหนดไว้ เลือก ๑ คน : ๑ ตำแหน่ง

  41. หลักเกณฑ์และวิธีการ ๑ การขอประเมินบุคคล ไม่เกิน ๑ ระดับ ตำแหน่งว่างหรือเป็นตำแหน่งที่ผู้นั้นดำรงอยู่ แทนผู้เกษียณ/แทนผู้ขอลาออกให้ล่วงหน้าไม่เกิน ๖ เดือน ล่วงหน้าไม่เกิน ๑ ปี

  42. หลักเกณฑ์และวิธีการ ๑ การขอประเมินบุคคล ก.พ. สำนักงาน ก.พ. ปลัดกระทรวง(เพื่อพิจารณา) ผลงาน ส่งผลงาน อธิบดี

  43. หลักเกณฑ์และวิธีการ ๒ หลักเกณฑ์การประเมินบุคคล ๓ ส่วน ก.ข้อมูลทั่วไป- ประวัติต่าง ๆ - ประสบการณ์ในการทำงาน- อัตราเงินเดือน ส่วนที่ ๑ การพิจารณาคุณสมบัติ • ข. spec • วุฒิ • วุฒิเพิ่มเติม / ใบอนุญาต • - ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ก.พ. เป็นผู้พิจารณา

  44. มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคลและระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ดังนี้ ระดับ ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญ คุณวุฒิ ๑๐ ปี ปริญญาตรี ๙ ปี ๘ ปี ปริญญาโท ๗ ปี ๖ ปี ปริญญาเอก ๕ ปี กรณีมีปัญหา ก.พ. เป็นผู้พิจารณา

  45. หลักเกณฑ์และวิธีการ ๒ หลักเกณฑ์การประเมินบุคคล ๓ ส่วน ความรับผิดชอบ ความคิดริเริ่ม การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ ความประพฤติ ความสามารถในการสื่อความหมาย การพัฒนาตนเองวิสัยทัศน์ คุณลักษณะอื่น ๆ ส่วนที่ ๒ การประเมินคุณลักษณะ กรม (อธิบดี) เป็นผู้ประเมิน

  46. หลักเกณฑ์และวิธีการ ๒ หลักเกณฑ์การประเมินบุคคล ๓ ส่วน ผลงานที่จะนำมาประเมิน ผลงานและหรือผลสำเร็จของงานที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามปกติในตำแหน่ง โดยไม่จำเป็นต้องจัดทำผลงานขึ้นใหม่ ส่วนที่ ๓ การประเมินผลงาน ผลงานที่ประเมินเพื่อเลื่อนระดับไปแล้วจะนำมาเสนอเพื่อขอประเมินเลื่อนระดับอีกไม่ได้ ก.พ. เป็นผู้พิจารณา

  47. การแต่งตั้ง • คำสั่ง...../.... • เรื่อง เลื่อนระดับ • ................................ • .................................. • สั่ง ณ วันที่ ........... • (............) • .............. การออกคำสั่งเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ย้อนหลังได้ในกรณี * เป็นการเลื่อนในเลขที่ตำแหน่งเดิม ไม่ก่อนวันที่กรมได้รับคำขอเอกสารครบถ้วนสมบูรณ์ โดยไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติมในส่วนที่เป็นสาระสำคัญของผลงาน * มีการรักษาการในตำแหน่งเลขที่ที่ผู้นั้นจะเลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่ง (เลื่อนในตำแหน่งเลขที่อื่น) ต้องไม่ก่อนวันที่มีคุณสมบัติครบด้วย

  48. แนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล สาขาวิศวกรรมศาสตร์

  49. ลักษณะงาน 1. งานวางแผน 2. งานตรวจสอบ 3. งานออกแบบและคำนวณ 4. งานวางโครงการก่อสร้าง 5. งานควบคุมการก่อสร้างและหรือโครงการ 6. งานบำรุงรักษา 7. งานวิจัยและพัฒนา 8. งานให้คำปรึกษา

  50. หลักเกณฑ์การประเมินบุคคลหลักเกณฑ์การประเมินบุคคล 1. การพิจารณาคุณสมบัติของบุคคล 2. การประเมินคุณลักษณะของบุคคล 3. การประเมินผลงาน

More Related