1 / 24

1. ข้อบังคับ มท. ที่ 1/2509 ลว.1 ก.พ.2509 การสอบสวนคดี 1. ข้าราชการสวนภูมิภาค 2. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น 3. เทศมนตรี 4

1. ข้อบังคับ มท. ที่ 1/2509 ลว.1 ก.พ.2509 การสอบสวนคดี 1. ข้าราชการสวนภูมิภาค 2. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น 3. เทศมนตรี 4. กำนัน เพราะได้กระทำตามหน้าที่ 5. ผู้ใหญ่บ้าน ต้องหาคดีอาญา 6. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อ้างว่าได้กระทำการตามหน้าที่ 7. แพทย์ประจำตำบล 8. สารวัตรกำนัน

burt
Download Presentation

1. ข้อบังคับ มท. ที่ 1/2509 ลว.1 ก.พ.2509 การสอบสวนคดี 1. ข้าราชการสวนภูมิภาค 2. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น 3. เทศมนตรี 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1. ข้อบังคับ มท. ที่ 1/2509 ลว.1 ก.พ.2509 การสอบสวนคดี 1. ข้าราชการสวนภูมิภาค 2. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น 3. เทศมนตรี 4. กำนัน เพราะได้กระทำตามหน้าที่ 5. ผู้ใหญ่บ้าน ต้องหาคดีอาญา 6. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อ้างว่าได้กระทำการตามหน้าที่ 7. แพทย์ประจำตำบล 8. สารวัตรกำนัน 9. กรรมการสุขาภิบาล 10. กรรมการ อบต. ผวจ. - พงส. รับคำร้องทุกข์กล่าวโทษ รีบแจ้ง นอภ. แล้วแต่กรณีทราบโดยด่วน เพื่อสั่งให้ พงส.ฝ่ายปกครองเข้าร่วมกับ พงส.ฝ่าย ตร. สอบสวนดำเนินคดี

  2. - พงส. รับคำร้องทุกข์กล่าวโทษ รับแจ้ง ผวจ. นอภ. แล้วแต่กรณีทราบโดยด่วน เพื่อสั่งให้ พงส.ฝ่ายปกครองเข้าร่วมกับ พงส.ฝ่าย ตร. สอบสวนดำเนินคดี - เรื่องที่ เสนอส่วนกลาง ส่วนกลางดำเนินการเอง ให้ ปค. และ สนง.ตร. จัด พงส.แต่ละฝ่ายร่วมสอบสวนดำเนินคดี *ข้อสังเกต 1. ผู้ต้องหาที่เป็นข้าราชการตามข้อบังคับไม่รวมถึงข้าราชการส่วนกลางที่ปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาค 2. กระทำผิดเพราะทำตามหน้าที่หรืออ้างว่าทำตามหน้าที่ 3. ฝ่ายตำรวจเป็นหัวหน้าพนักงานสอบสวน

  3. 2. ข้อบังคับ มท. ว่าด้วยระเบียบการดำเนินคดีอาญา พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 43 เหตุสำคัญ เหตุจำเป็น สมควรให้ พงส.ปค. ทำการสอบสวน ร่วมทำการสอบสวน ให้ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด หรือผู้รักษาราชการแทน เสนอความเห็นต่อ ผวจ. เพื่อสั่งการ *ข้อสังเกต 1. ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด หรือผู้รักษาราชการแทนเท่านั้นเสนอ 2. ให้ พงส.ปค. ฝ่ายเดียวก็ได้หรือร่วมกับ พงส.ฝ่าย ตร.ก็ได้

  4. 2. ข้อบังคับ มท. ว่าด้วยระเบียบการดำเนินคดีอาญา พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 44 กรณี ผวจ. นอภ. ประสบเหตุความผิดอาญาควรทำการจับกุม - ให้ ผวจ. นอภ. ทำการจับกุม ถ้าไม่จับให้สั่ง จนท.ตร. หรือ จพง.อื่นทำการจับกุม *เพื่อประโยชน์ในการสอบสวน ผวจ. นอภ. สืบสวน สอบสวน หรือสั่งให้ จนท.รวบรวมหลักฐาน ต่าง ๆ ที่เกิดเหตุหรือดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจตัวบุคคล 2. ตรวจสิ่งของ 3. ค้นเพื่อพบสิ่งของ 4. ยึดไว้สิ่งของที่ค้นพบ 5. สอบปากคำบุคคล 6. ดำเนินการอื่นเท่าที่จำเป็น ส่งหลักฐานบุคคลให้ พงส.ท้องที่ดำเนินการ *ข้อสังเกต ผวจ. และ นอภ. มีอำนาจดังกล่าว

  5. 2. ข้อบังคับ มท. ว่าด้วยระเบียบการดำเนินคดีอาญา พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 12.4 12.5 12.6 และ 12.7 ข้อ 12.7 ปมท. การสอบสวนคดีทั่วราชอาณาจักร ถ้าเห็นสมควร 1. ให้ พงส.มาชี้แจง เรียกสำนวนมาตรวจพิจารณาให้คำแนะนำ เร่งรัดให้เป็นผลดี และในทางที่ชอบและเหมาะสม 2. ถ้า ปมท. เห็นว่าการดำเนินการตามข้อ 1 ไม่ได้ผล ปมท. มีอำนาจเข้าควบคุมการสอบสวนและมีอำนาจ - สั่งแต่งตั้ง พงส.ผู้รับผิดชอบ - สั่งอนุญาตไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว - เปลี่ยนตัว พงส. - ให้ พงส.ฝ.ปค. เข้าร่วมทำการสอบสวน มีอำนาจแก้ไขเปลี่ยนแปลง - อำนาจ ป.หน.กิ่งอ. นอภ. ผกก.ตร.ภ.จ. ผบก.จ. หรือ ผบช.ตร.ภ. ผวจ. และ ผบช.ตร. ให้เป็นอำนาจ ปมท. หรือผู้ได้รับมอบหมาย เว้นจะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น

  6. 2. ข้อบังคับ มท. ว่าด้วยระเบียบการดำเนินคดีอาญา พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 12.4 12.5 12.6 และ 12.7 ข้อ 12.4 ผวจ. มีอำนาจภายในจังหวัด 1. ให้ พงส.มาชี้แจง เรียกสำนวนมาตรวจพิจารณา ให้คำแนะนำเร่งรัดให้เป็นผลดี และในทางที่ชอบและเหมาะสม 2. ถ้า ผวจ. เห็นว่าการดำเนินการตามข้อ 1 ไม่ได้ผล ผวจ. มีอำนาจเข้าควบคุมการสอบสวนและมีอำนาจ - สั่ง พงส.ดำเนินการตามที่เห็นสมควร - สั่งอนุญาต ไม่อนุญาต ปล่อยชั่วคราว - เปลี่ยนตัว พงส. - ให้ พงส.ฝ.ปค. เข้าร่วมทำการสอบสวน - เป็นหัวหน้าพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบตาม ป.วิอาญา ม.18 วรรคท้าย - เป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบตาม ป.วิอาญามาตรา 140

  7. การสั่งการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโดยอำนาจของ การสั่งการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโดยอำนาจของ - ผู้บังคับการตำรวจภูธร ผู้บัญชาการตำรวจภูธร เป็นอันงด ยกเว้นอำนาจ ผบ.ตช. นายอำเภอ มีอำนาจเช่นเดียวกับ ผู้ว่าราชการจังหวัด การสั่งการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโดยอำนาจของ ผู้กำกับการตำรวจภูธรจังหวัด ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด เป็นอันงดยกเว้นอำนาจ ผวจ.และ ผบ.ตช. ผู้บัญชาการตำรวจภูธร ป.หน.กิ่ง อ. มีอำนาจเช่นเดียวกับนายอำเภอ

  8. 3. ข้อบังคับ มท. ว่าด้วยการสอบสวนคดีอาญาบางประเภทในจังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2520 คดีอาญาในความผิดตามกฎหมายนี้ให้ พงส.ปค. ทำการสอบสวนได้ 1. กฎหมายว่าด้วยทะเบียนราษฎร 2. กฎหมายว่าด้วยบัตรประจำตัวประชาชน 3. กฎหมายว่าด้วยภาษีบำรุงท้องที่ 4. กฎหมายว่าด้วยภาษีป้าย 5. กฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือนและที่ดิน 6. กฎหมายว่าด้วยสัตว์พาหนะ 7. กฎหมายว่าด้วยเก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง 8. กฎหมายว่าด้วยควบคุมสุสานและฌาปนสถาน 9. กฎหมายว่าด้วยสาธารณสุข 10. กฎหมายว่าด้วยประถมศึกษา กรรมเดียว ผิดกฎหมายหลายบท เป็นความผิดตามกฎหมายอื่นนอกจากกฎหมาย 10 ประเภท ให้ พงส.ฝ่ายตร. ทำการสอบสวน ให้ ผวจ. เป็นผู้แต่งตั้งปลัดอำเภอเป็น พงส. ปลัดอำเอ เป็นปลัดอำเภอที่ส่งมาประจำ

  9. การควบคุมการสอบสวนคดีเกี่ยวกับป่าไม้และทรัพยากรของชาติอื่น ๆ หนังสือ มท. ด่วน ที่ มท 0207/ว 981 ลว. 26 ก.ค. 2532 มีคดีอาญาเกี่ยวกับป่าไม้และทรัพยากรของชาติเกิดขึ้นในท้องที่ใดให้หัวหน้าพนักงานสอบสวนในท้องที่นั้นรีบรายงาน ป.หน.กิ่ง อ. นอภ. ผวจ. เพื่อทราบและพิจารณาสั่งการ ป.หน.กิ่ง อ. นอภ. ผวจ. พิจารณาเห็นควรตรวจสอบ เรียกสำนวน ให้คำแนะนำ เร่งรัด ให้การปฏิบัติของ พงส. เป็นผลดีในทางที่ชอบ คดีใหญ่คดีสำคัญ การดำเนินการตามข้อ 2 ไม่ได้ผล ผวจ. นอภ. ป.หน.กิ่ง อ. เข้าควบคุมการสอบสวน กรณีไม่เข้าควบคุมการสอบสวนให้ใช้ดุลพินิจ ปรึกษาหารือกับ พงส.ประจำท้องที่ กรณีเข้าควบคุมการสอบสวนให้แจ้ง พงส. อ.ท้องที่ทราบเพื่อให้ พงส.อ.เข้าร่วม เป็นที่ปรึกษา กรณีพนักงานฝ่ายปกครองจับกุมหรือร่วมจับกุม ให้ ผวจ. นอภ. ป.หน.กิ่ง อ. เข้าควบคุมการสอบสวน โดยเป็นหัวหน้าพนักงานสอบสวน คดีใหญ่หรือคดีสำคัญ ให้พิจารณาจาก ผู้ต้องหา หรือผู้กระทำผิด ของกลาง ช่วงเหตุการณ์ในการกระทำผิด ความสนใจของสื่อมวลชน ผลกระทบต่อประเทศเพื่อนบ้าน ผลเสียที่อาจเกิดขึ้น

  10. การสอบสวน 1. เริ่มสอบสวนโดยมิชักช้าจะทำ - ที่ใด เวลาใด แล้วแต่จะเห็นสมควร - ผู้ต้องหาไม่ต้องอยู่ด้วย (ม.130) 2. พงส.รวบรวมหลักฐานทุกชนิดเท่าที่ทำได้เพื่อ - หาข้อเท็จจริง - พฤติการณ์ต่าง ๆ - รู้ตัวผู้กระทำผิด - พิสูจน์ให้เห็นผิด หรือบริสุทธิ์ ของผู้ต้องหา (ม.131)

  11. การสอบสวน 3. พงส.มีอำนาจ ประการแรก - ตรวจตัวผู้เสียหาย ยินยอม - ตรวจตัวผู้ต้องหา - ตรวจสิ่งของ - ตรวจสถานที่ - ทำภาพถ่าย - ทำแผนที่หรือภาพวาด - จำลองหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ ลายมือ หรือลายเท้า - บันทึกรายละเอียด

  12. การสอบสวน ประการที่สอง - ค้น - พบสิ่งของมีไว้เป็นผิด หรือได้มา หรือได้ใช้หรือสงสัยได้ใช้ ในการกระทำผิด - หมายเรียกบุคคล ซึ่งครอบครองสิ่งของให้ส่ง - ยึดไว้ซึ่งสิ่งที่ค้นพบ หรือส่งมา (มาตรา 132) 4. พงส. - ออกหมายเรียกผู้เสียหาย บุคคล ควรเชื่อว่าถ้อยคำของเขาเป็น ประโยชน์แก่คดีและถามปากคำบุคคลนั้นไว้ - การถามปากคำบุคคลดังกล่าว พงส.จะให้สาบานหรือปฏิญาณตัวเสียก่อน ก็ได้

  13. ข้อห้าม - พูดให้ท้อใจ - ใช้กลอุบายเพื่อป้องกันมิให้บุคคลใดไม่ให้ถ้อยคำด้วยความเต็มใจ (มาตรา 133) 5. คดีมีโทษจำคุก ตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป อย่างสูงไม่เกิน 3 ปี ผู้เสียหายหรือพยานเด็กอ้างขอคดีทำร้ายร่างกายเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี การถามปากคำเด็กในฐานผู้เสียหาย หรือพยาน ให้แยกทำเป็นสัดส่วนที่เหมาะสมและให้มี 1. นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ 2. บุคคลที่เด็กร้องขอ 3. พนักงานอัยการ ร่วมในการถามปากคำ

  14. - ให้เป็นหน้าที่ พงส.ต้องแจ้งบุคคลตามข้อ 1-3 ทราบ - บุคคลตามข้อ 1-3 ผู้เสียหายหรือพยานเด็กตั้งข้อรังเกียจได้ถ้ามีเปลี่ยนตัว - การถามปากคำเด็กให้ พงส. จัดให้มีการบันทึกภาพและเสียงซึ่งสามารถ ถ่ายทอดได้อย่างต่อเนื่องไว้เป็นพยาน กรณีจำเป็นเร่งด่วนอย่างยิ่ง ไม่อาจรอบุคคลตามข้อ 1-3 พร้อมกันได้ ให้สอบปากคำเด็กโดยมีบุคคลข้อ 1-3 คนใดคนหนึ่งได้ แต่ต้องบันทึกเหตุ จำเป็นไว้ (มาตรา 133 ทวิ) 6. ผู้ต้องหา - ถูกเรียก - ส่งตัวมา - เข้าพบ -ปรากฏต่อหน้า

  15. พงส. ถามชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุล สัญชาติ บิดามารดา อายุ อาชีพ ที่อยู่ที่เกิด แจ้งให้ทราบข้อเท็จจริงที่กล่าวหา แจ้งข้อหาให้ทราบ พงส. การแจ้งข้อหา ต้องมีหลักฐานตามสมควรว่าผู้นั้นน่าจะทำผิดตามข้อหา พงส. ให้โอกาสผู้ต้องหา แก้ข้อกล่าวหา แสดงข้อเท็จจริงที่เป็นประโยชน์แก่ตน พงส. เมื่อแจ้งข้อกล่าวหาแล้วผู้ต้องหา ถ้า พงส.เห็นว่ามีเหตุออกหมายขัง 1. ไม่ใช่ผู้ถูกจับและยังไม่ได้ออกหมายจับ 2. พงส. เห็นควรออกหมายจับ พงส. มีอำนาจสั่งให้ผู้ต้องหาไปศาล เพื่อขอออกหมายขังโดยทันที ผู้ต้องหาไม่ปฏิบัติตามคำสั่งข้อ 2 - จับ ปล่อย ควบคุม (มาตรา 134)

  16. 7. คดีมีโทษ - ประหารชีวิต - ผู้ต้องหาอายุไม่เกิน 18 ปี ในวันที่ พงส.แจ้งข้อหา - ก่อนเริ่มถามคำให้การ พงส.ถามว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มี ให้รัฐจัดหาทนายความให้ คดีมีโทษ - จำคุก ก่อนเริ่มถามคำให้การ พงส. ถามว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มี ผู้ต้องหาต้องการ รัฐจัดทนายความให้ การจัดทนายความให้ พงส.ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ กำหนดในกฎกระทรวง กรณีจำเป็นเร่งด่วน ทนายความไม่อาจมาพบผู้ต้องหาได้ พงส.สอบสวน ไม่ต้องหารอได้ แต่บันทึกเหตุจำเป็นไว้ (มาตรา 134/1)

  17. 8. การสอบสวนผู้ต้องหาอายุไม่เกิน 18 ปี ต้องปฏิบัติตามข้อ 5 ด้วย (มาตรา134/2) 9. ผู้ต้องหามีสิทธิให้ ทนายความ ผู้ซึ่งตนไว้วางใจ เข้าฟังการสอบปากคำ ให้การ 10. พงส. ถามปากคำผู้ต้องหา พงส. แจ้งให้ผู้ต้องหาทราบก่อนว่า 10.1 ผู้ต้องหามีสิทธิจะให้การหรือไม่ก็ได้ ถ้าผู้ต้องหาให้การ ถ้อยคำ อาจใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้ 10.2 ผู้ต้องหามีสิทธิให้ ทนาย ผู้ซึ่งตนไว้วางใจ เข้าฟังการสอบสวน ปากคำตนได้ ผู้ต้องหาเต็มใจให้การ ไม่เต็มใจให้การ บันทึกไว้ ถ้อยคำผู้ต้องหาที่ให้ไว้ก่อน - การดำเนินการเรื่องทนายความตามขั้นตอน - การแจ้งบุคคลเข้าร่วมสอบสวน ผู้ต้องหาไม่เกิน 18 ปี ไม่รับฟังเป็นพยาน พิสูจน์ความผิดของบุคคลนั้น

  18. 11. การถามคำให้การผู้ต้องหา - ห้าม พงส. ทำหรือจัดให้ทำ - ขู่เข็ญ - หลอกลวง - ทรมาน เพื่อจูงใจให้การในเรื่องที่ต้องหา - ใช้กำลังบังคับ หรือ - กระทำโดยมิชอบ (มาตรา 135) 12. พงส. มีอำนาจ สอบสวนเอง ส่งประเด็นไปสอบสวน แต่ต้องแจ้งข้อความให้ผู้ต้องหาทราบ

  19. 13. พงส. ผู้รับผิดชอบ เห็นว่าการสอบสวนเสร็จแล้ว 1) ไม่พบผู้กระทำผิด - ความผิดอัตราโทษจำคุกอย่างสูงไม่เกิน 3 ปี ให้งดการสอบสวน บันทึกเหตุการณ์งด ส่งพนักงานอัยการ - อัตราโทษสูงเกิน 3 ปี มีความเห็นควรงดการสอบสวน ส่งพนักงาน อัยการ 2) ถ้ารู้ตัวผู้กระทำผิด - แต่เรียกหรือจับตัวไม่ได้ให้ทำความเห็น สั่งฟ้อง สั่งไม่ฟ้อง ส่งพนักงานอัยการ - พนักงานอัยการ เห็นชอบ สั่งไม่ฟ้อง แจ้งคำสั่ง พงส. - พนักงานอัยการ เห็นว่า ควรสอบสวนต่อไป ส่ง พงส.ปฏิบัติการ

  20. - พนักงานอัยการ เห็นควร สั่งฟ้อง ให้จัดการให้ได้ตัวผู้ต้องหา อยู่ต่างประเทศส่งข้ามแดน 3) ถ้ารู้ตัวผู้กระทำผิด และ ถูกควบคุม ถูกขัง ปล่อยชั่วคราว เชื่อว่าคงได้ตัวเมื่อออกหมายเรียก พงส. ทำความเห็นตามท้องสำนวน ควรสั่งฟ้อง สั่งไม่ฟ้อง ส่งพนักงานอัยการ - กรณี พงส. เสนอมีความเห็นสั่งไม่ฟ้อง พงส. ส่งแต่สำนวนไปยัง พนักงานอัยการ พงส. มีอำนาจ ปล่อย ปล่อยชั่วคราว ผู้ต้องหา ผู้ต้องหาถูกขังอยู่โดยอำนาจศาล พงส. ขอเอง พนักงานอัยการ ขอให้ปล่อยผู้ต้องหา

  21. - กรณี พงส. เสนอมีความเห็นควรสั่งฟ้อง พงส. ส่งสำนวนพร้อมผู้ต้องหาไปยังพนักงานอัยการ ยกเว้นผู้ต้องหาถูกขัง ถ้าความผิดเปรียบเทียบได้ และผู้กระทำปฏิบัติตามที่เปรียบเทียบอยู่แล้ว ให้บันทึกเปรียบเทียบ ส่งสำนวนให้ พงอ. (มาตรา 140, 141, 142) สิ้นสุดขั้นตอนของ พงส. ขั้นพนักงานอัยการ ส่งสำนวน พงอ. ให้ พงอ. ปฏิบัติดังนี้ 1. กรณี พงส. เห็นควรสั่งไม่ฟ้อง เห็นชอบด้วย ออกคำสั่งไม่ฟ้อง ไม่เห็นชอบด้วย สั่งฟ้อง แจ้ง พงส. ส่งตัวผู้ต้องหา

  22. 2. กรณี พงส. เห็นควรสั่งฟ้อง - เห็นชอบด้วย ออกคำสั่งฟ้องและฟ้องผู้ต้องหาต่อศาล - ไม่เห็นชอบด้วย สั่งไม่ฟ้อง กรณีหนึ่งกรณีใด พงอ. มีอำนาจ สั่งตามที่ควร พงส. สอบสวนเพิ่ม หรือส่งพยานมาให้ซักถาม 1) วินิจฉัยว่าควรดำเนินการกับผู้ต้องหา - ปล่อยตัว - ปล่อยชั่วคราว - ควบคุมตัวไว้ - ขอให้ศาลขัง (มาตรา 142, 143)

  23. 3. กรณีสั่งฟ้องความผิดอาจเปรียบได้ - สั่ง พงส. เปรียบเทียบ - ผู้ต้องหา สำนวน ถูกส่งมายัง พงอ.แล้ว ส่งผู้ต้องหา พร้อมสำนวน ให้ พงส. พยายามเปรียบเทียบ หรือส่ง พงส.อื่นที่มีอำนาจ (มาตรา 144) 4. กรณีสั่งไม่ฟ้อง พงอ. 1) ถ้าไม่ใช่คำสั่งของอัยการสูงสุด ใน กทม. รีบส่งสำนวน คำสั่งไปเสนอ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ หรือรอง หรือผู้ช่วย ผบ.ตช. ในจังหวัดอื่น รีบส่งสำนวน คำสั่ง ไปเสนอ ผวจ. สำหรับผู้ต้องหา พงอ. จัดได้ตามข้อ 2(1) ใน กทม. ถ้า ผบ.ตช. หรือรอง หรือผู้ช่วย ผบ.ตช. และในจังหวัดอื่น ผวจ. มีความเห็นแย้งให้ส่งสำนวน ความเห็นแย้งให้อัยการสูงสุดชี้ขาด

  24. ถ้าคดีจะขาดอายุความ มีเหตุจำเป็นอื่นต้องรีบฟ้อง ให้ฟ้องคดีตามความเห็นชอบ ผบ.ตช. หรือรอง ผบ.ตช. หรือ ผช.ผบ.ตช. หรือ ผวจ.ก่อน 2) กรณีอุทธรณ์ ฎีกา หรือถอนฟ้อง ถอนอุทธรณ์ ถอนฎีกา พงอ. มีความเห็นแล้ว ต้องดำเนินการเช่นเดียวกับข้อ 1 3) คดีเสร็จเด็ดขาด สั่งไม่ฟ้องแล้ว ห้ามสอบสวนอีก เว้นแต่จะมีพยาน หลักฐานใหม่อันสำคัญแก่คดี ซึ่งน่าจะทำให้ศาลลงโทษผู้ต้องหา

More Related