250 likes | 391 Views
การจัดดำเนินการโครงการ ตามที่มหาวิทยาลัยคาดหวังในปี 2557. เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สายปฏิบัติการ วิชาชีพบริหารคุณภาพองค์กร. ประเด็นสิ่งที่คาดหวังจากเครือข่าย ในปีงบประมาณ 2557.
E N D
การจัดดำเนินการโครงการการจัดดำเนินการโครงการ ตามที่มหาวิทยาลัยคาดหวังในปี 2557 เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สายปฏิบัติการ วิชาชีพบริหารคุณภาพองค์กร
ประเด็นสิ่งที่คาดหวังจากเครือข่ายในปีงบประมาณ 2557 1. การจัดโครงการฝึกอบรม สัมมนาตามแผนพัฒนาประจำปี 25572. การติดตามความคืบหน้าการจัดทำระบบการจัดการความรู้ (KM)3. การจัดทำโครงการ/หลักสูตรการเป็นพี่เลี้ยงสอนงานน้องที่เข้ามาใหม4. การ Mapping หลักสูตร/โครงการให้ตรงกับ Functional Competency5. การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพในโครงการมหกรรมคุณภาพ “ก้าวเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่ ก้าวใหม่เพื่อจุฬาฯ ปี 2557″
เริ่มต้น....การกำหนดเป้าหมายเริ่มต้น....การกำหนดเป้าหมาย ต้องกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจนก่อนว่าสิ่งที่องค์กรต้องการจากการจัดการความรู้ คืออะไร เรียกว่า กำหนดเป้าหมาย (Desired State) ซึ่งการกำหนดเป้าหมายอาจจะพิจารณาจากยุทธศาสตร์ขององค์กรหรือจากปัญหาขององค์กร
เป้าหมายจากการระดมความคิดเห็น มติจากการสัมมนาเครือข่ายวิชาชีพสายปฏิบัติการ ณ โรงแรมเดอะไทด์ โครงการ/กิจกรรม: โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกณฑ์การบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) วัตถุประสงค์: เพื่อเตรียมความพร้อมของสมาชิกเครือข่าย และประชาคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวชี้วัด: ร้อยละของความรู้ความเข้าใจของเกณฑ์ EdPEx เพิ่มขึ้น (มีการทดสอบ Pre-test และ Post-test) ผู้รับผิดชอบ: เครือข่ายบริหารคุณภาพองค์กร ระยะเวลาดำเนินการ: ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557 งบประมาณ: 300,000 บาท
กำหนดแผนกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อกลุ่มงาน: เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ สายปฏิบัติการ วิชาชีพบริหารคุณภาพองค์กร เป้าหมายการจัดการความรู้ (Desired State): ………………………………………………………………………… หน่วยวัดความสำเร็จของการจัดการความรู้: …………………………………………………………………………….
กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่ กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ
กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) - แบ่งชนิดและประเภทของความรู้ เพื่อจัดทำ ระบบให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและ ใช้งาน จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) - จัดทำรูปแบบและ “ภาษา” ให้เป็นมาตรฐาน เดียวกันทั่วทั้งองค์กร - เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและตรง กับความต้องการ
กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) - ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ต้องการ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) - การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)- ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System)- การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation)
กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ 7. การเรียนรู้ (Learning) - นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ- แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร
การปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จการปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จ • กำหนดแผนในกระบวนการจัดการความรู้ (7 ขั้นตอน) • กำหนดทีมงาน หาที่ปรึกษา เพื่อให้ข้อคิดเห็นและการดำเนินงาน • สร้างเครื่องมือ KM สำหรับใช้ในการบันทึกข้อมูลที่ได้ • เรียนรู้และสร้างความเข้าใจในเรื่อง การจัดการความรู้จากผู้รู้ เว็บไซด์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในกลุ่มเครือข่าย • ระดมความคิดเห็นและดำเนินการตามขั้นตอนกระบวนการจัดการความรู้ตามแผน
ตัวอย่าง Blog http://cuqanetwork.wordpress.com
การจัดทำโครงการ/หลักสูตรเป็นพี่เลี้ยงการจัดทำโครงการ/หลักสูตรเป็นพี่เลี้ยง สอนงานน้องที่เข้ามาใหม่
กระบวนการและผลลัพธ์ คณะกรรมการเครือข่าย • ออกแบบ/สร้างหลักสูตร • ความรู้/ประสบการณ์ • บทเรียนโมดูล 3 ระดับ • ระดับเบื้องต้น • ระดับกลาง • ระดับสูง นโยบาย มหาวิทยาลัย การเขียนโครงการ และสร้างหลักสูตร ความร่วมมือ สำนักบริหารยุทธศาสตร์และการงบประมาณ • คู่มือต่างๆ ในเว็บไซด์ • องค์ความรู้จากตัวบุคคล
รูปแบบของบทเรียนโมดูลรูปแบบของบทเรียนโมดูล 1. คำชี้แจง Module Specification 2. จุดประสงค์ 3. ความรู้พื้นฐาน 4. การประเมินผลก่อนเรียน 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 6. การประเมินผลหลังเรียน
การปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จการปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จ • เขียนโครงการเพื่อของบประมาณจากสำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ • มีพันธะสัญญาและเป้าหมายร่วมกันในการสร้างบทเรียนให้สำเร็จ • กรรมการเครือข่ายร่วมมือกันและแบ่งหน้าที่เพื่อช่วยกันสร้างบทเรียน • ตามความถนัดของแต่ละบุคคล • มีระบบการติดตามและแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน • ทดลองใช้ระบบและแก้ไข
การสร้างความรู้ ทักษะในวิชาชีพ • มีความรู้/ความสามารถในวิชาชีพ • มีการทำงานเป็นทีม • มีทักษะด้านการบริหารจัดการ • มีทักษะด้านการติดต่อ สื่อสาร และประสานงาน • ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนางาน • มีทักษะด้านการจัดการความรู้ • เกณฑ์มาตรฐานระบบประกันคุณภาพ • การเก็บข้อมูลพื้นฐาน CDS • กระบวนการประกันคุณภาพ • ความเป็นผู้นำ ทักษะในการตัดสินใจในการแก้ไขงาน • มีความคิดเชิงบวก • รอบรู้ทิศทางยุทธศาสตร์ขององค์กร • ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในด้านต่างๆ อยู่เสมอ หมายเหตุ: ส่วนหนึ่งจากการระดมความคิดเห็นที่โรงแรมเดอะไทด์ บางแสน จ.ชลบุรี
กระบวนการวิเคราะห์เพื่อกำหนด Functional Competency การสำรวจรายการจัดทำสมรรถนะประจำกลุ่มเครือข่ายบริหารคุณภาพองค์กร (เอกสารสรุปคะแนนรวม) ผลการสำรวจนำมาเรียงลำดับความถี่จากมากไปหาน้อย ตัดคะแนนที่ได้ต่ำกว่า 10 คะแนนออก วิเคราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้อง และนำมาจัดกลุ่มประเภทเดียวกัน กำหนดประเด็นใหม่เพื่อกำหนด Functional Competency
ตัวอย่างผลการวิเคราะห์และการจัดทำหลักสูตรตัวอย่างผลการวิเคราะห์และการจัดทำหลักสูตร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรบทเรียนโมดูลกรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรบทเรียนโมดูล
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรบทเรียนโมดูล:การประกันคุณภาพขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรบทเรียนโมดูล:การประกันคุณภาพ • การเตรียมความพร้อม • การสร้างความตระหนัก • พัฒนาบุคลากรเครือข่าย • จัดทำแผนพัฒนาบทเรียน • จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ • การจัดทำหลักสูตรสาระการเรียนรู้บทเรียนโมดูล • กำหนดหลักการและเหตุผล • กำหนดจุดมุ่งหมาย • ศึกษาความรู้พื้นฐานด้าน QA • จัดทำแผนกิจกรรมการเรียนรู้ • การวางแผนดำเนินการใช้หลักสูตร • การเข้าถึงการเรียนรู้ข้อมูล • จัดหา เลือก ใช้ ทำ และพัฒนาสื่อ • จัดกระบวนการเรียนรู้ • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • วัดและประเมินผล • วิจัยเพื่อพัฒนา 1 2 7 3 การปรับปรุง พัฒนา การใช้/การบริหารหลักสูตร บทเรียนโมดูล 4 การสรุปผลการใช้บทเรียนโมดูล การกำกับ/ติดตาม/ประเมิน การใช้บทเรียนโมดูล 6 5
แผนโครงการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรใหม่ด้านการประกันคุณภาพแผนโครงการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรใหม่ด้านการประกันคุณภาพ
แผนโครงการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรใหม่ด้านการประกันคุณภาพ (ต่อ)