1 / 15

กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก

กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก. ประกอบด้วย 3 ระยะ ได้แก่ ก่อนการตรวจเยี่ยม ระหว่างตรวจเยี่ยม หลังการตรวจเยี่ยม. ระยะก่อนตรวจเยี่ยม. ระยะระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา. ระยะหลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา. ระยะหลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา. การเก็บรวบรวมข้อมูล.

burian
Download Presentation

กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก ประกอบด้วย 3 ระยะ ได้แก่ ก่อนการตรวจเยี่ยม ระหว่างตรวจเยี่ยม หลังการตรวจเยี่ยม

  2. ระยะก่อนตรวจเยี่ยม

  3. ระยะระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษาระยะระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา

  4. ระยะหลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษาระยะหลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา

  5. ระยะหลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษาระยะหลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา

  6. การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นตอนที่สำคัญสำหรับการประเมินฯ ซึ่งทำได้ ๓ วิธี คือ • การศึกษาจากเอกสาร (รายงานประจำปี, รายงานการประเมินตนเอง, รายงานการประชุม, รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษานั้นๆ เอกสารรายงานผลที่เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นต้น) • การสัมภาษณ์ (สัมภาษณ์บุคคลเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา, ครู-อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ผู้ใช้นักศึกษา เป็นต้น) • การสังเกต เป็นการเก็บข้อมูลโดยตรงจากปฏิกิริยา ท่าทางของกลุ่มเป้าหมาย หรือเหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ หรือสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง และจดบันทึกไว้โดยไม่มีการสัมภาษณ์ ได้แก่ แหล่งข้อมูลทางกายภาพ แหล่งข้อมูลสังคมรอบๆ สถานศึกษา หรืออาจเป็นการสังเกตการจัดการเรียนการสอน เป็นต้น

  7. ตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆ

  8. ตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆ

  9. ตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆ

  10. ตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆ

  11. ตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลรูปแบบต่างๆ

  12. การเก็บรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆ ๑. ด้านสุขภาพร่างกาย ๑.๑ ที่ห้องพยาบาลอาจดูว่ามีบันทึกเด็กป่วยบ่อยมากน้อยเพียงใด ๑.๒ มีบันทึกน้ำหนัก ส่วนสูงหรือไม่ ถ้ามีก็น่าจะดูได้ว่าเป็นไปตามเกณฑ์หรือไม่ ๑.๓ วิชาพลศึกษา ผลสัมฤทธิ์น่าจะเป็นตัวชี้วัดด้านสุขภาพได้ ๑.๔ ภาพรวมในห้องเรียนมีเด็กลาป่วยบ่อยหรือไม่ ๑.๕ การสังเกตเด็กว่ามีเด็กผอมมากๆ หรืออ้วนมากๆ มากเกินไปหรือไม่ โดยเฉลี่ย จะมีเด็กที่ผอมมากกว่าเกณฑ์ไม่เกิน ๒% ของจำนวนผู้เรียน ๑.๖ มีกิจกรรมกีฬานอกหลักสูตรมากน้อยเพียงใด เช่น กีฬาสี กีฬาระหว่างร.ร. ๑.๗ สัมภาษณ์พ่อ แม่ และเด็ก กรณีเด็กรับประทานอาหารเช้าหรือไม่ อาหารกลางวันเพียงพอหรือไม่ อาหารกลางวันเมนูเป็นอย่างไร ใครจัดให้ ดื่มนมหรือไม่ ปริมาณเท่าไรขึ้นอยู่กับวัยของเด็ก (อย่างน้อยวันละ ๒ แก้ว) ๑.๘ สังเกตเด็กแต่งกายสุภาพเรียบร้อย เหมาะสมหรือไม่ ผิวพรรณ เล็บ ผมเป็นอย่างไร เท่าที่สามารถสังเกตได้ว่ามีสุขภาพดีหรือไม่

  13. การเก็บรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆ ๒. ด้านสุขภาพจิตใจ ๒.๑ สังเกตสีหน้าเวลาเรียน / รับประทานอาหาร / เวลาทักทายว่าร่าเริงแจ่มใสหรือตึงเครียด ๒.๒ ดูบันทึกว่ามีเด็กมีปัญหาพฤติกรรมชกต่อย ถูกลงโทษเพียงใด มีพฤติกรรมก้าวร้าวหรือไม่ พูดจาหยาบคายหรือไม่ ๒.๓ ดูวินัยเด็กว่ามาสาย ลา ขาดเรียน ติดเกมมากน้อยเพียงใด ๒.๔ มีร้านเกมอยู่ใกล้สถานศึกษาหรือไม่ ๒.๕ สัมภาษณ์พ่อ แม่ ว่ามีปัญหาระหว่างเพื่อนๆ ในโรงเรียนหรือไม่ มีปัญหาพฤติกรรม ถูกเพื่อนรังแกหรือเพื่อนล้อหรือไม่ ๒.๖ เด็กชอบมาโรงเรียนหรือไม่ ๒.๗ เด็กมีวินัย มีความรับผิดชอบดีหรือไม่ ๒.๘ สัมภาษณ์พ่อแม่ว่าเด็กกล้าแสดงออกหรือไม มีความเป็นผู้นำหรือไม่ ชอบช่วยเหลือเพื่อนหรือไม่ มีสำนึกจิตอาสา (volunteer) หรือไม่ บุคลิกภาพเป็นอย่างไร ๒.๙ หากมีชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายให้พิจารณาดูว่ามีปัญหาวัยรุ่นที่ไม่เหมาะสมบ้างหรือไม่ การแต่งกายเหมาะสมหรือไม่ การสัมภาษณ์วัยรุ่นอาจสัมภาษณ์ว่าใช้เวลาหลังเลิกเรียน/เสาร์-อาทิตย์ทำอะไรบ้าง กลับบ้านกี่โมง ทำกิจกรรมอะไรกับครอบครัว / กับเพื่อน ใช้เวลากับเพื่อนหรือไม่อย่างไร

  14. การตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูลการตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล การตรวจสอบแบบ ๓ เส้า คือ การพิจารณาความถูกต้อง ความสอดคล้อง และความน่าเชื่อถือ จาก ๓ กลุ่ม ๓ วิธีการ ดังนี้ ๑. ตรวจสอบข้อมูลจากกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง ๓ กลุ่ม ได้แก่ ๑.๑ ผู้จัดการศึกษา (คก.สถานศึกษา, ผู้บริหาร, ครู ต้นสังกัด และสมาชิกสมาคมศิษย์เก่า) ๑.๒ ผู้รับผลประโยชน์โดยตรง (นักเรียน, ผู้ปกครอง) ๑.๓ ผู้ได้รับผลกระทบ (ชุมชน, สาธารณชน, สถานประกอบการในท้องถิ่น, องค์กร และหน่วยงานในท้องถิ่น)

  15. การตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูลการตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล การตรวจสอบแบบ ๓ เส้า คือ การพิจารณาความถูกต้อง ความสอดคล้อง และความน่าเชื่อถือ จาก ๓ กลุ่ม ๓ วิธีการ ดังนี้ ๒. ตรวจสอบข้อมูลจากวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ๓ วิธี ได้แก่ ๒.๑ การศึกษาวิเคราะห์เอกสาร หลักฐาน ข้อมูลสถิติ ๒.๒ การสังเกต ๒.๓ การสัมภาษณ์

More Related