120 likes | 345 Views
การพัฒนาศักยภาพชุมชน โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. STRATEGIC ROUTE MAP : SRM. การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม. การสาธารณสุขมูลฐาน. การมีส่วนร่วมของประชาชน. การประสานการพัฒนากับสาขาต่างๆ. การพัฒนาระบบบริการให้เอื้อต่อการสาธารณสุขมูลฐาน. การทำความเข้าใจ
E N D
การพัฒนาศักยภาพชุมชน โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ STRATEGIC ROUTE MAP : SRM
การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม การสาธารณสุขมูลฐาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การประสานการพัฒนากับสาขาต่างๆ การพัฒนาระบบบริการให้เอื้อต่อการสาธารณสุขมูลฐาน
การทำความเข้าใจ ปรัชญา แนวคิด อย่างลึกซึ้ง ทำให้เกิด ปัญญา ความเชื่อมั่นในงานที่รับผิดชอบ
เข้าใจทฤษฎี 3 ก. เพื่อชุมชนเข้มแข็ง กรรมการ กรรมการ กองทุนสุขภาพ อสส./ แกนนำชุมชน กองทุน กำลังคน
ต้องมีการจัดการนวัตกรรม ! • มองกว้าง • มุ่งที่กระบวนการ • เป็นการเสริมสร้างพลังจากภายใน • ยิ่งทำความสามารถยิ่งเพิ่ม • (ระบบพัฒนาสังคม ?) • มองแคบ • เอาผลงานเป็นหลัก • เห็นแต่ปัญหา • รวมศูนย์จากภายนอก • อยู่ในมือผู้เชี่ยวชาญ • (ระบบราชการทั่วไป?) เข้าใจแนวคิดของการพัฒนา ผสมผสาน • ชุมชนเปลี่ยนแปลง • สู่ความยั่งยืน • เกิดจิตสำนึก • พึ่งตนเองได้ • คุณภาพชีวิตดี • สุขภาพดี เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เปรียบกับ เพื่อสนองความต้องการ Strength-basedDevelopment Need-based Development (Process-oriented) (Output-oriented) เน้นกระบวนการ ไม่เน้นผลงาน เน้นผลงาน ไม่เน้นกระบวนการ
เข้าใจยุทธศาสตร์การสร้างสุขภาพเข้าใจยุทธศาสตร์การสร้างสุขภาพ แนวทางเดิม • สร้างบทบาทของบุคลากร • สร้างเทคโนโลยีของบุคลากร • สร้างแผนงานโครงการ • บริการประชาชน แนวทางใหม่ • สร้างบทบาทของประชาชน • สร้างเทคโนโลยีของประชาชน • สร้างแผนงานโครงการ (อปท./กองทุน) • รัฐปรับเจตคติ/บทบาทของบุคลากร(ทุกฝ่าย)ให้ตอบสนอง
วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา”
บทบาทของประชาชนตามวิสัยทัศน์บทบาทของประชาชนตามวิสัยทัศน์ • ดูแลสุขภาพของตนเองได้ • ปฏิบัติต่อสภาวะแวดล้อมประเภทต่างๆอย่างเหมาะสม • ร่วมมือในการดำเนินมาตรการทางสังคม บทบาททั้งสามเป็นตัวกำหนด • ยุทธศาสตร์ของภาคีต่างๆที่มีส่วนสนับสนุน • กระบวนการสำคัญที่จะใช้เพื่อตอบสนอง • การพัฒนาทักษะของบุคลากร ข้อมูลทางบริหารและวิชาการ • การพัฒนาบริบท โครงสร้าง ผู้นำ และการทำงานเป็นทีม • แสดงด้วยภาพต่อไปนี้
3 ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างบทบาทของประชาชน การสร้างบทบาท ใหม่ของคนในสังคม สอดรับกันด้วย แผนที่ยุทธศาสตร์ 1. สมรรถนะขององค์กร 2.กระบวนการบริหารจัดการ 3.บทบาทของภาคีพันธมิตร
สถานการณ์ความสำคัญ และกรอบแนวคิด มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารจัดการภาครัฐที่ดี (PMQA) ตัวชี้วัด กพร.