1 / 27

“ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ”

“ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ”. ASEAN Economic Community. AEC. ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 20 มิถุนายน 2550 จัดโดยกระทรวงพาณิชย์. หัวข้อการบรรยาย. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคการรวมตัวของอาเซียน

Download Presentation

“ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ASEAN Economic Community AEC ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 20 มิถุนายน 2550 จัดโดยกระทรวงพาณิชย์

  2. หัวข้อการบรรยาย ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคการรวมตัวของอาเซียน ส่วนที่ 3 ... ข้อเสนอแนะ ?

  3. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร 1.1 จากการลดภาษีศุลกากรที่เร็วขึ้น • ใช้ประโยชน์จากการลดภาษีศุลกากรเหลือร้อยละ 0 สำหรับสินค้า PIS (ผลิตภัณฑ์เกษตร / ประมง / ผลิตภัณฑ์ไม้ / ผลิตภัณฑ์ยาง / สิ่งทอ / ยานยนต์ / อิเล็กทรอนิกส์ / เทคโนโลยีสารสนเทศ / สาขาสุขภาพ) ซึ่งครอบคลุมจำนวน 4,273 รายการ และการลดภาษีศุลกากรเหลือร้อยละ 0 เป็นสัดส่วน 80% ของ CEPT IL ภายในวันที่ 1 มกราคม 2007 และ 100% ภายในวันที่ 1 มกราคม 2010 (ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว 10 รายการ ที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 5 ในปี 2010)

  4. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร ตัวอย่างสินค้าที่สมาชิกอาเซียนต่างลดภาษีให้กันเหลือ 0% ในปี 2550* * ในเบื้องต้น กรมศุลกากรอยู่ระหว่างดำเนินการออกประกาศ อย่างไรก็ดี การลดภาษีจะมีผลย้อนหลัง

  5. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร ตัวอย่างสินค้าที่สมาชิกอาเซียนต่างลดภาษีให้กันเหลือ 0%ในปี 2553

  6. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร 1.2 จากกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าที่เปิดกว้างมากขึ้น • ปัจจุบันกฎฯ เดิมคือ มูลค่าเพิ่ม (Local Content) 40% ได้เพิ่มทางเลือกขึ้นอีก 1 เกณฑ์ คือ • Local Content 40% หรือ การเปลี่ยนพิกัดในระดับ 4 หลัก (CTH) • ตัวอย่างกลุ่มสินค้าที่จะได้ประโยชน์ได้แก่ ประมงแปรรูป เช่น ทูน่ากระป๋อง อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องรับโทรทัศน์ วงจรพิมพ์ และสิ่งทอ เป็นต้น

  7. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร 1.3 จากการยกเลิกมาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non Tariff Barriers : NTBs) ระหว่างกัน

  8. ตัวอย่าง NTBs ของสมาชิกอาเซียนที่ต้องยกเลิก 1 มกราคม 2008 ที่มา: aseansec.org กุมภาพันธ์ 2550

  9. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.4 จากการจัดทำความตกลงยอมรับร่วม (MRA) • ลดอุปสรรคจากกฎระเบียบทางเทคนิค หรือ มาตรฐานบังคับของประเทศสมาชิกอื่นในอาเซียน • สินค้าที่ได้รับประโยชน์ในปัจจุบัน ได้แก่ กลุ่มไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ที่เป็นผลิตภัณฑ์ควบคุมหรือผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในขอบข่ายมาตรฐานบังคับของแต่ละประเทศ สภาพใหม่ ใช้ไฟฟ้าแรงดันต่ำ ไม่ครอบคลุมบริภัณฑ์โทรคมนาคมและบริภัณฑ์ทางการแพทย์ ส่วนสินค้าอื่นๆ ที่อยู่ระหว่างการดำเนินการได้แก่ กลุ่มสินค้าสุขภาพ (เครื่องมือแพทย์ ยาพื้นบ้าน และผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ)

  10. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.5 จากการปรับประสานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ • ซึ่งควรจะรวมเรื่องสินค้าเกษตร (ตอนที่ 1-15) ด้วย ไม่ใช่พูดถึงแต่อาหาร (ตอนที่ 16-24) ภายใต้กรอบ TBT

  11. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.6 จากการอำนวยความสะดวกด้านพิธีการศุลกากร • กำหนดให้สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศจัดตั้ง National Single Window ให้แล้วเสร็จภายในปี 2008 และ ประเทศ CLMV ภายในปี 2012 เพื่อเชื่อมต่อเป็น ASEAN Single Windowต่อไป • ถ้าเป็นไปได้ ควรมี ASEAN Single Inspection Service ด้วย

  12. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.7 จากการเป็นพันธมิตรร่วมในด้านเศรษฐกิจ ทั้งระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค • ACMECS(ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง) • ประเทศไทยให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยการเข้าไปลงทุนผลิตสินค้าเกษตรที่ขาดแคลน และการชักจูงประเทศที่สามเข้าร่วมในการพัฒนา

  13. แผนการลงทุนสำหรับปี 2006-2008 ที่เสนอเข้าคณะรัฐมนตรี

  14. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.7 จากการเป็นพันธมิตรร่วมในด้านเศรษฐกิจ ทั้งระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค ... (ต่อ) • ตัวอย่างการเจรจาต่อรองกับ EU สำหรับสินค้าทูน่ากระป๋อง • EU ให้สิทธิประโยชน์สินค้าปลาทูน่ากระป๋องแก่กลุ่ม ACP (African Caribbean and Pacific)โดยกำหนดภาษีนำเข้าเป็น 0% ส่วนสมาชิก WTO เป็น 24% สำหรับอาเซียนรวมทั้งไทยได้รับชดเชยในรูปโควตาภาษี 12% เป็นเวลา 5 ปี • (1 กค. 2003 - 30 มิถุนายน 2008) ปริมาณโควตา 25, 750 ตัน (ไทยได้ 52% หรือ 13,390 ตัน)

  15. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน • อาเซียน - จีน • อาเซียน - อินเดีย • อาเซียน – CER(AUS-NZ) • อาเซียน - เกาหลี • อาเซียน - ญี่ปุ่น • อาเซียน - EU

  16. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.1 การที่อาเซียนแต่ละประเทศแยกไปเจรจา FTA กับประเทศต่างๆ ทำให้เอกภาพของอาเซียนน้อยลงไปทุกที FTA 2 ฝ่ายของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ (ริเริ่ม ศึกษา ทาบทาม เจรจา ลงนาม)

  17. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.2การที่อาเซียนแต่ละประเทศต่างแยกไปเจรจา FTA กับประเทศต่างๆ ทำให้เกิดการแข่งขันกันเองในตลาดที่สาม ตัวอย่าง การลดภาษีจากการทำ FTA กับญี่ปุ่น

  18. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.2การที่อาเซียนแต่ละประเทศต่างแยกไปเจรจา FTA กับประเทศต่างๆ ทำให้เกิดการแข่งขันกันเองในตลาดที่สาม ... (ต่อ) • อาเซียน 9 ประเทศ ยกเว้นไทย ลงนามความตกลง FTA กับเกาหลี • มาเลเซีย สิงคโปร์ ลดภาษีแล้วตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2550 • อินโดนีเซีย พม่า อยู่ระหว่างรออนุมัติ จากรัฐมนตรีคลัง • แต่จะมีผลใช้บังคับย้อนหลังตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน2550 • ประเทศอื่นๆ อยู่ระหว่างดำเนินการภายใน

  19. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.3ข้อเสนอการจัดทำกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามีความแตกต่างกัน 2.3.1 ตัวอย่างสินค้า TH VT SG

  20. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.3ข้อเสนอการจัดทำกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามีความแตกต่างกัน 2.3.2 สินค้าที่ไทยอาจได้รับผลกระทบ TH VT ไทยมีกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นทางและภาระการรับซื้อวัตถุดิบจากเกษตรกร ส่วนอาเซียนอื่นมีกระบวนการผลิตปลายทาง การเปิดโอกาสนำเข้าน้ำมันดิบมากลั่น ไทยจะเสียเปรียบเรื่องต้นทุนและ การบริหารการนำเข้าพืชน้ำมันจะประสบปัญหา

  21. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.3ข้อเสนอการจัดทำกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามีความแตกต่างกัน 2.3.2 สินค้าที่ไทยอาจได้รับผลกระทบ ... (ต่อ) • ไทยมีวัตถุดิบบางชนิดในประเทศ เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง จึงทำให้สามารถทำได้ 40% • ภาษีวัตถุดิบนำเข้าของไทยสูงกว่าอาเซียนอื่น อาทิ ถั่วเหลือง กากน้ำมันต่างๆ ปลาป่น ภาษีอยู่ระหว่าง 5-35% เป็นต้น ถ้ายอมให้การนำเข้าวัตถุดิบทุกชนิดมาผลิตแล้วได้แหล่งกำเนิด ต้นทุนการผลิตไทย จะสูงกว่า แข่งขันในตลาดไม่ได้

  22. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.3ข้อเสนอการจัดทำกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามีความแตกต่างกัน 2.3.2 สินค้าที่ไทยอาจได้รับผลกระทบ ... (ต่อ) การใช้เกณฑ์ CTH จะเป็นการเปิดโอกาสให้นำเข้าวัตถุดิบนอกภูมิภาคอาเซียนมาผลิต ซึ่งต่างกับการใช้ 40% ซึ่งจะช่วยส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเนื่องในภูมิภาคให้แข็งแกร่ง

  23. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน • 2.4 ภาษีที่สมาชิกเรียกเก็บจากประเทศภายนอกกลุ่มมีความแตกต่างกัน • ดังนั้นมีหลายรายการสินค้าของไทยที่มีความเสียเปรียบด้านต้นทุน เนื่องจากภาษีนำเข้าวัตถุดิบของไทยจากประเทศนอกกลุ่มสูงกว่าประเทศสมาชิกอื่นๆ ในอาเซียน • ต.ย. สินค้า เช่น • กากน้ำมันต่างๆ สำหรับผลิตอาหารสัตว์ • เมล็ดโกโก้ สำหรับผลิตผงโกโก้

  24. 10% WTO 10% 10% 0% 2015 0% 5% 5% 15% 0%

  25. ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.4 ภาษีที่สมาชิกเรียกเก็บจากประเทศภายนอกกลุ่มมีความแตกต่างกัน

  26. ส่วนที่ 3 ... ข้อเสนอแนะ • แต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนควรมีการทบทวนประเด็นต่างๆ ในกรอบ FTA ของตนเอง (Bilateral) อาทิ การลดภาษี หรือ กฎแหล่งกำเนิดสินค้า และใช้โอกาสการเจรจากรอบอาเซียน FTA เพื่อให้มีกำลังต่อรองในการผลักดันประเด็นที่แต่ละประเทศไม่ได้ประโยชน์เต็มที่ในกรอบ Bilateral • มาตรการรองรับผลกระทบจากการค้าระหว่างอาเซียนด้วยกัน

  27. จบการบรรยาย

More Related