100 likes | 250 Views
กองการเงินและบัญชี. ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น. ด้านการนำองค์กร ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์ ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านการวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ด้านการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ด้านการจัดการกระบวนการ ด้านอื่นๆ.
E N D
กองการเงินและบัญชี ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ด้านการนำองค์กร • ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์ • ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ด้านการวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ • ด้านการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล • ด้านการจัดการกระบวนการ • ด้านอื่นๆ ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
CKO เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ สามารถมองเห็นภาพในอนาคต • CKOเป็นนักวางแผน วางแผนกำลังคนสำหรับในอนาคต • CKOเป็นผู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่าง • CKOเป็นผู้ติดตามการดำเนินงาน อย่างสม่ำเสมอ • CKOเป็นผู้รอบรู้ สามารถให้คำแนะนำ และช่วยพัฒนาผู้อื่นอยู่เสมอ • CKO เป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจ มีนโยบายให้เพิ่มผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และเงินรางวัล สำหรับผู้ปฏิบัติงานดีและช่วยเหลืองานส่วนรวม ด้านการนำองค์กร
จัดทำแผนงานตั้งแต่ต้นรอบปีงบประมาณจัดทำแผนงานตั้งแต่ต้นรอบปีงบประมาณ • มีการประชุมชี้แจงแผนให้คณะทำงานรับทราบ • มีการมอบหมายงานชัดเจน • มีผู้รวบรวมข้อมูล • มีผู้ควบคุมและติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์
นำข้อคิดเห็นจากแบบสอบถาม หน้างาน และ แจ้งเวียน มาปรับปรุงการทำงาน เช่น • ปรับปรุงสถานที่สำหรับผู้มาติดต่อราชการ • จัดทำคู่มือติดต่อราชการ • มีการสำรวจความพึงพอใจเฉพาะงาน มาปรับปรุงการทำงาน เช่น • การสำรวจการใช้บัตรเครดิตเพื่อจะนำผลมาปรับปรุงกระบวนงาน ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
มีโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ภายในหน่วยงาน เช่น กลุ่มตรวจสอบและสั่งจ่าย สอนงานกันภายในกลุ่ม เพื่อให้การตรวจสอบเป็นมาตรฐานเดียวกัน • ภายนอกหน่วยงาน เช่น จัดงาน KM DAY กองแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากสำนัก/กอง ที่ประสบความสำเร็จ กลุ่มการเงินได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานด้านบัตรเครดิตราชการ กับหน่วยงานอื่นๆโดยบริษัทบัตรเครดิตเป็นผู้จัด • ทีมงานจัดการความรู้ มีตัวแทนจากทุกหน่วยงานของกอง • การคัดเลือกตัวแทนเลือกจากพฤติกรรม ประสบการณ์ มีการมอบหมายงานที่เหมาะสม ทำงานใช้กระบวนงานการมีส่วนร่วมของกลุ่ม วิเคราะห์ ตั้งแต่คนที่จะช่วยงานให้ความสำคัญกับการเลือกคนถูกกับงาน ทำให้งานที่ทำออกมามีประสิทธิภาพ และประสบความสำเร็จ ด้านการวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้
ให้ผลตอบแทนสำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดการความรู้ เป็นอัตราที่ชัดเจน เป็นธรรม โปรงใส(สำหรับผู้ที่เป็นคณะทำงานที่ช่วยปฏิบัติงาน และ ผู้ไม่เป็นคณะทำงานแต่ช่วยปฏิบัติงาน) • เนื่องจากกองการเงินและบัญชี มีโครงสร้างที่มีผู้ปฏิบัติงานอายุ 50 ปีขึ้นไป จำนวนมาก ดังนั้น จึงมีแนวทางการเรียนรู้ แบ่งเป็น 3 ช่วงอายุ คือ • ช่วงที่ 1 อายุระหว่าง 51 – 60 ปี เป็นผู้รอบรู้ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง • ช่วงที่ 2 อายุระหว่าง 31 – 50 ปี ให้มีการหมุนเวียนเปลี่ยนงาน • ช่วงที่ 3 อายุระหว่าง 20 – 30 ปี เรียนรู้งานในหน้าที่ ศึกษา ระเบียบ วิธีปฏิบัติ ด้านการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
มีการพัฒนาระบบงานใหม่ๆ มาช่วยในการปฏิบัติงาน ทำให้กระบวนการทำงานสะดวก รวดเร็วขึ้น รวมทั้งลดต้นทุนการผลิต • กระบวนงานหลัก • การจ่ายเงินผ่านระบบ Online realtime • ออกใบรับใบสำคัญด้วยระบบคอมพิวเตอร์ • ระบบทะเบียนคุมลูกหนี้เงินยืม (ปีงบประมาณ พ.ศ.2554-2555) เป็นบริการOne Stop Serviceให้แก่ผู้ใช้บริการ • กระบวนงานสนับสนุน • จัดทำแนวทางเรื่องรูปแบบการเขียนหนังสือราชการที่ถูกต้อง การส่งงานในระบบ อี -สารบรรณ เพื่อซักซ้อมความเข้าใจให้กับเจ้าหน้าที่(ตามที่ได้มีการเก็บข้อมูลของฝ่ายบริหารทั่วไป) ด้านการจัดการกระบวนการ
สิ่งที่กองการเงินและบัญชีปฏิบัติ หน่วยงานอื่นๆ ก็มีการปฏิบัติอยู่เช่นกันในการจัดการความรู้เหมือนกันหมด แต่สิ่งที่กองการเงินและบัญชีพยายาม ทุ่มเท ปลูกฝังให้กับคนในกองคือไม่ใช่เพียงแค่ได้ทำ แต่เป็นการทำเพื่อให้ได้รู้ และภูมิใจกับการได้ทำ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 หัวใจสำคัญคือ การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อเป็นหลักฐานในการค้นคว้าตามหลักการจัดการความรู้ และได้ประโยชน์เพื่อเป็นหลักฐานในการตรวจประเมินการจัดการความรู้ตามเกณฑ์ KMA