1 / 42

รูปแบบและแนวทาง การเขียนรายงานการวิจัย ทางสังคมศาสตร์

รูปแบบและแนวทาง การเขียนรายงานการวิจัย ทางสังคมศาสตร์. รองศาสตราจารย์ ดร. โยธิน แสวงดี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. บัตรห้องสมุด. ใครเขียน....................................เมื่อไหร่............ในบทความเรื่อง...........

Download Presentation

รูปแบบและแนวทาง การเขียนรายงานการวิจัย ทางสังคมศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบและแนวทางการเขียนรายงานการวิจัยทางสังคมศาสตร์รูปแบบและแนวทางการเขียนรายงานการวิจัยทางสังคมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร. โยธิน แสวงดี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

  2. บัตรห้องสมุด • ใครเขียน....................................เมื่อไหร่............ในบทความเรื่อง........... ชื่อหนังสือ...................ฉบับ...............ปีที่................................หน้า.........................ระเบียบวิธีการวิจัย................ ......................ข้อค้นพบ.....................................................ข้อไม่พบ.........................................................................จุดเด่น.................................................................................จุดด้อย.........................................................แนวทางที่เราจะทำให้ดีกว่า..................................................................

  3. บท • บทที่ 1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา(3 หน้า) ความจำเป็นที่ต้องทำ คำถามวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้จากงานวิจัย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ ขอบเขต ข้อจำกัด

  4. บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง(20 – 30 หน้า) กรอบแนวความคิด นิยามศัพท์เพื่อปฏิบัติการวิจัย ตัวแปร ความหมาย/นิยาม และระดับการวัดของข้อมูล • บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย (15 – 25 หน้า) ชุมชนที่ศึกษา ประเภทของการวิจัย (research design) ประชากรและวิธีการสุ่มตัวอย่าง-เชิงปริมาณ เครื่องมือและวิธีสร้างเครื่องมือ ฯลฯ-เชิงปริมาณ ผู้รู้ที่เป็นผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพและวิธีการรวบรวมข้อมูล-เชิงคุณภาพ

  5. บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล (30 – 45 หน้า) แยกประเด็น ตามคำถามวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย สถิติเชิงพรรณนา(แสดงปรากฏการณ์แยกประเด็น ตามคำถามวิจัย และ วัตถุประสงค์การวิจัย) สถิติเพื่อการณ์ทำนาย(แยกประเด็น ตามคำถามวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย และ สมมุติฐานเพื่อการพิสูจน์ในเชิงสถิติ) บทที่ 5 บทสรุป (ย่อจาก บทที่ 4 ให้เหลือ 3 – 4 หน้า) บทสรุป ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย (จากผลที่ได้จากงานวิจัยนี้เท่านั้น) ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป (จากข้อจำกัด จากผลการวิเคราะห์ ที่ไม่ชัดเจน ขยายขนาดงานให้โตขึ้น ฯลฯ) • บทคัดย่อ (Abstract) (ย่อจากบทสรุป ให้เหลือ 3 ใน 4) • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (ย่อบทที่ 1 เฉพาะที่มาของปัญหารวมกับ บทที่ 4 ให้เหลือไม่เกิน 10 หน้า)

  6. สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ................................... .... ตารางที่ 2 .................................. .... ตารางที่ 3 .................................. .... ตารางที่ 4................................... .... ตารางที่ 5 .................................. .... ตารางที่ 6 .................................. ....

  7. สารบัญกราฟ หน้า กราฟที่ 1 ................................... .... กราฟที่ 2 .................................. .... กราฟที่ 3 .................................. .... กราฟที่ 4................................... .... กราฟที่ 5 .................................. .... กราฟที่ 6 .................................. ....

  8. สารบัญรูป หน้า รูปที่ 1 ......................................... .... รูปที่ 2 ........................................ .... รูปที่ 3 ........................................ .... รูปที่ 4 ......................................... .... รูปที่ 5 ........................................ .... รูปที่ 6 ........................................ ....

  9. วิธีการที่ควรตระหนักอยู่เสมอเกี่ยวกับแต่ละหน้าที่เขียนวิธีการที่ควรตระหนักอยู่เสมอเกี่ยวกับแต่ละหน้าที่เขียน • หนึ่งหน้าควรมีประมาณ 2 หรือ 3 ย่อหน้าเท่านั้น • ในแต่ละย่อหน้าควรมีอ้างอิง ปรากฏประมาณ 2 – 4 แห่ง เพราะชี้ให้เห็นว่าเรามีความรู้ที่อ้างอิงได้ในประเด็นที่เราเขียน เป็นผลดีต่อเราที่แสดงถึงการเป็นผู้มีความรู้ มิใช่เขียนตามจินตนาการเอง • การอ้างอิงไม่ควรซ้ำในหน้าเดียวกัน และทั้งเล่มอ้างซ้ำได้ครั้งเดียว • หากเป็นทฤษฎีที่อมตะ หรือ แนวคิดอมตะ ปีโบราณได้ • หากเป็นงานวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางสังคมศาสตร์จะนิยมอ้างภายในหนึ่งทศวรรษ หรือ 10 ปี • ให้ใช้สำนวนภาษาสารคดี

  10. บทที่ 1. บทนำ • 1) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (2-3 หน้า) • - ความสำคัญของประเด็นนี้ในวงวิชาการสากล (โลก) • - ยุทธศาสตรของโลก ประเทศ (อ้างอิง 21; 8;2) • - ยุทธศาสตร์จังหวัด • - ยุทธศาสตร์สังคมนั้น ๆ • - กล่าวถึงสังคม ชุมชน หรือ กลุ่มคน ที่เลือกทำการศึกษา ว่าสำคัญอย่างไร (เน้นให้เห็นความสำคัญของประเด็น ชี้สู่ปรากฎการณ์ที่จะทำการวิจัย; อ้างอิง 18;22)

  11. 2) ชี้ให้เห็นความจำเป็นที่ต้องทำของเรื่องนี้ในสังคมนี้ (ไม่ใช่ประโยชน์ของงานวิจัย เน้นปรากฎการณ์ อาจแสดงด้วยตัวเลข กราฟ หรือ ตาราง) เช่น ความรุนแรงของปัญหา ความรุนแรงของประเด็นวิจัย หรือ อีกนัยหนึ่งแสดงความอ่อนด้อยของประเด็นวิจัยนั้นๆ ผลดีจะเกิดขึ้นต่อสังคม ฯลฯ อย่างไร ถ้าไม่ทำเรื่องนี้ จะมีผลเสียอย่างไร ดังนั้นจึงจำเป็นต้องทำ เป็นประเด็นหลักที่ต้องชี้แจง จึงกำหนดคำถามวิจัยว่า........................หรือไม่อย่างไร นอกจากนี้ยังประสงค์ที่จะค้นหาว่า .......................มีผลต่อ .............อย่างไร ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ในการชี้ให้เห็นว่า................จากเหตุผลดังกล่าวจึงกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยไว้ดังนี้

  12. 3) คำถามวิจัย (ปัญหาวิจัย, โจทย์วิจัย) ต้องมีความชัดเจนที่สำคัญจะนิยมต่อท้ายประโยคด้วยคำว่า อย่างไร?อะไร?ทำไม? • 4) ประโยชน์ของงานวิจัย เพื่ออะไร? 1. เพื่อการปฏิบัติการ มาตรการทางนโยบาย นำผลการวิจัยไปใช้ทำคู่มือ 2. เพื่อองค์ความรู้ทางการวิจัย - ค้นพบองค์ความรู้ใหม่ - ยืนยันทฤษฎีเดิมว่ายังคงเป็นอยู่ - ยกเลิกทฤษฎีเก่า - ยกเลิกนโยบายเก่า ยกเลิกมาตรการเก่า ยกเลิกคู่มือเก่า ยกเลิก ยุทธวิธีการบริหารเก่า ฯลฯ

  13. 5. วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่ออะไรสอดคล้องกับคำถามวิจัยหรือไม่ - เพื่อศึกษา (แบบนี้ค่อนข้างโบราณ) - เพื่อตรวจสอบ (Examine) - เพื่อค้นหา (Investigate) - เพื่อหาผลกระทบ (Effect) - เพื่อหาผลสะท้อน (Impact) - เพื่อหาผลกระทบ (Consequences) - เพื่อค้นหาอิทธิพล (Influenees) - เพื่อสืบค้น แสวงหา สำรวจ (Explore) คำที่นิยมใช้ ในการตั้งวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งจะนิยมจำแนกเป็นข้อ ๆ เช่น : 1) ........................ 2) ........................

  14. บทที่ 2. ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง • มีการกล่าวถึงทฤษฎี ที่สำคัญและเกี่ยวข้องจริง ๆ (Positivism: หลักปฏิฐานนิยม)หมายถึงทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะค้นหา หรือ พิสูจน์……(อ้างอิง 23;12) • ……………………(อ้างอิง 2;21) • ทฤษฏีหลักในแต่ละสาขาจะระบุไว้ในตำราเรียนระดับปริญญาตรี ว่าในสาขามี • ทฤษฏีที่สำคัญอะไรบ้าง • ข.งานวิจัย และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะค้นหาประเด็นของงานวิจัยที่จะต้องพิจารณาถึงได้แก่ : - ระเบียบวิธีการวิจัยที่ใช้ ต้องวิพากษ์ถึงจุดแข็งของเขา และตำหนิจุดอ่อน พร้อมกับเสนอว่า เราจะทำให้ดีกว่านี้ด้วยวิธีการที่จะนำเสนอในบทระเบียบวิธีวิจัย • - ผลที่ได้ เนื้อหาที่ได้จากการอ่านเรื่องนั้น ยังคลุมเครือ หรือไม่ชัดเจน แต่เป็นคนละยุคสมัยจึงต้องพิสูจน์ใหม่…………………………………….(อ้างอิง 3;11) สอดคล้องกับ คล้ายกับ ขัดแย้งกับ • ค. การแสดงภาพกรอบแนวความคิด และต้องมีคำอธิบาย นิยามศัพท์ที่สำคํญ

  15. ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล การพิสูจน์โดยหลักECONOMETRICS การค้นหาสูงสุดคือ Determinants หรือ Factors เหตุ คือ ตัวแปรต้น หรือปัจจัยที่เป็นสาเหตุให้ตัวแปรอื่นหรือตัวแปรตามเปลี่ยนแปลง ผล คือ ตัวแปรตาม หรือ ตัวแปรที่ผันแปร ไปตามการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ หรือตัวแปรต้น เหตุ ผล Cause Consequence X Y ตัวอย่าง การศึกษา ค่าจ้างแรงงาน ต้องเข้าใจแนวคิด Causal Model 1) Cursive relationship ในลักษณะ X Y 2) Recursive relationship ในลักษณะ X Y

  16. แนวคิด Causal Relationship Model ตัวแปรภายใน (Endogenous Factors) I, J, K,... ตัวแปรมาก่อน (Antecedent Variables) A, B, C,... Z X ตัวแปรภายนอก (Exogenous Factors) Q, R, S,…. Y ตัวแปรอิสระ (X) คือ ตัวแปรต้น ตัวแปรที่มีค่าเปลี่ยนแปลงได้อย่างอิสระไม่ได้ถูกกำหนดจากตัวแปรอื่นๆ ที่ผู้วิจัยกำลังศึกษา หรือตัวแปรที่เป็นสาเหตุให้ตัวแปรอื่นเปลี่ยนแปลงตามตัวแปรตาม (Y)คือ ตัวแปรตาม หรือ ตัวแปรที่ผันแปรค่าไปตามการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ (ตัวแปรอิสระ หรือ ตัวแปรต้น)

  17. กรอบแนวความคิด ยึดตามทฤษฎี (เป็นการพิสูจน์ทฤษฎี) แล้วโยงความสัมพันธ์ในรูปกล่อง (Box)และเส้น โครงสร้างความ สัมพันธ์เชิงเหตุ และผลนี้เป็นเพียง โครงสร้างสมมุติ เพื่อพิสูจน์ตาม คำถามวิจัย อาจยืดหยุ่นได้เมื่อ เผชิญกับการเก็บ ข้อมูลในสนาม ปัจจัยในบุคคลนั้น X4 Y ตัวแปรสิ่งแวดล้อม ตัวแปรในชุมชนนั้น = สังเกต = พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดขึ้น ก่อนที่จะเกิดตัวแปรตาม X4 = ความสัมพันธ์ = ตัวแปรตาม Y

  18. Effect/Relation การสร้างกรอบแนวคิด การวิจัยเชิงปริมาณ หลักในการสร้างกรอบแนวความคิด • สร้างแบบกรอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ตัวแปรกลาง ตัวแปรตาม Cause Consequence Direct Effect Indirect Effect X1 X1 X2 Y X3 Y X2 X3 Observed

  19. ตัวอย่างกรอบแนวความคิดเกี่ยวกับแผนงานด้านสุขภาพตัวอย่างกรอบแนวความคิดเกี่ยวกับแผนงานด้านสุขภาพ บุคลิคภาพของบุคคล อายุ, เพศ, ที่อยู่อาศัย, สถานะภาพสมรส พฤติกรรม สุขภาพที่ดีและ เหมาะสม สถานะสุขภาพ การใช้บริการสุขภาพ ปัจจัยที่กำหนด ไว้ในแผนงาน โอกาสเป็น มะเร็งปอด การมารับบริการ การไม่สูบบุหรี่ คุณภาพการให้บริการ

  20. บทที่ 3ชุมชนที่ศึกษาและระเบียบวิธีวิจัย • ชุมชนที่ศึกษา รายละเอียดของชุมชน หมู่บ้าน กลุ่มคนที่เราทำการศึกษา เป็นการชี้ไห้เห็นบริบททางสังคมของหน่วยที่เราทำการศึกษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต ฯลฯ หากเจาะไปที่ชุมชนควรมีแผนที่หมู่บ้าน ชุมชน แสดงด้วย ระเบียบวิธีวิจัย เชิงปริมาณต้องกล่าวถึงประชากรและการสุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียด มีการอธิบายถึงตัวแปรต่างๆ และจะต้องกล่าวถึงนิยามศัพท์เนื่องจากเป็นการประมาณค่า ความหมายปละระดับการวัดของตัวแปร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยในเชิงคุณภาพ ที่ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลที่เป็นความรู้และเป็นความจริงจากผู้รู้ที่รู้จริง(Key informants) ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ 1)................. 2)...................3................และ 4)............... โดยมีขั้นตอนและกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลดังนี้

  21. การวิเคราะห์ผลกระทบในข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณการวิเคราะห์ผลกระทบในข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณ • การสุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสความน่าจะเป็นทางสถิติ • กรอบประชากรตัวอย่างไม่มีระบบเพราะไม่สามารถกำหนดได้ • แต่วิธีได้ตัวอย่างใช้การเลือกตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด • การสุ่มแบบบังเอิญ • การสุ่มแบบเจาะจง หรือการคัดเลือกคนเพื่อตอบคำถาม ต้องพิจารณาในประเด็นต่อไปนี้ การสุ่มแบบเจาะจงจะใช้สถิติเชิงอนุมาน มาวิเคราะห์ไม่ได้ สากลไม่ยอมรับ สถิติ เชิงอนุมาณ (Inferential Statistics) ได้แก่ 1. Regression ทุกมิติ 2. ANOVA, FACTORS ANALYSIS ฯลฯ

  22. 1) การสนทนากลุ่มแบบเจาะจง (Focus group discussion) ที่ได้กำหนดคุณลักษณะของผู้ให้ข้อมูลไว้ดังนี้ ...... • ....................... โดยในขั้นตอนของการคัดเลือกบุคคลเข้าร่วมการสนทนากลุ่มได้ดำเนินการค้นหาด้วยวิธี............. และมีแนวคำถามที่ใช้ในการสนทนาดังที่ปรากฎในภาคผนวก ชึ่งแนวคำถามนี้ได้มีการทดสอบเนื้อหาของข้อคำถามจากการสนทนากลุ่มกับกลุ่มผู้รู้ที่รู้จริง ณ................อนึ่ง เพื่อเป็นการตรวจสอบความแม่นตรงของเนื้อหาข้อมูล ได้ทำการจัดสนทนากลุ่มจำนวน.......กลุ่ม โดยใช้หลักการตรวจสอบสามเส้า

  23. 2) การสนทนากลุ่มย่อย ..................................... • ......................................................... • 3) การสัมภาษณ์เดี่ยวแบบเจาะลึก ................................................. • ............................................................ • มีการทดสอบวิธีการรวบรวมข้อมูล Feasibility Test หรือไม่ - ทดสอบแนวคำถามที่จะใช้ในสนามแล้วนำมาปรับแก้ (อาจทดสอบหลายครั้ง) • ทดสอบความเป็นไปได้ที่จะใช้ในการรวบรวมข้อมูลในสนามจริง - จำนวนครั้งที่ใช้ทดสอบ - พื้นที่ เช่น ชุมชน สังคม ฯลฯ ที่ใช้ในการทดสอบ

  24. บทที่ 4ผลการวิเคราะห์และอภิปรายผล • ประเด็นแรกในวัตถุประสงค์การวิจัย ที่จะนำไปสู่การตอบคำถามการวิจัย (Domain 1) • เชิงปริมาณแสดงการกระจายของข้อมูล (Phenomenologicalism: หลักปรากฏการณ์นิยม) • ทำการค้นหาตามคำถามวิจัยด้วยสถิติที่เหมาะสมกับการกระจายและระดับการวัดของข้อมูล • ควรมีการแสดงด้วยตารางและกราฟแท่งกับกราฟเส้น • ต้องอย่าลืมหัวใจของการวิจัยเชิงคุณภาพที่เน้นความสัมพันธ์ของคนกับสังคม บริบทสังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต วัฒนธรรมกลุ่มย่อย ฯลฯ ที่มีผลต่อพฤติกรรม ลักษณะครัวเรือนและความเชื่อที่มีผลต่อการใช้วิธีคุมกำเนิด เมื่อพิจารณาถึง ........................ผลการวิจัยนี้พบว่า ......... ..................................................(อ้างอิง 1/21).................. ...................(อ้างอิง 3/ 6/ 9)....................ชึ่งจะขอแยกอธิบายดังนี้ 1. ครัวเรือนขยาย ...................................................(อ้างอิง 7)………….(อ้างอิง 11/4) .......................................(อ้างอิง 34/ 12) ดังประเด็นที่ได้จากการสนทนากลุ่มต่อไปนี้ “…………………………………… …………………………………… ……………………………………” (หญิง อายุ 30 – 35 ปี) “…………………………………..” 2. ครัวเรือนเดี่ยว .............................................................. ................(อ้างอิง 10).............................(อ้างอิง 5/7/8)………………

  25. สิ่งที่ต้องพิจารณาก่อนการวิเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่ต้องพิจารณาก่อนการวิเคราะห์ข้อมูล • อ่านคำถามวิจัยทุกคำถามให้เข้าใจว่าแต่ละข้อต้องการค้นหาอะไร • อ่านวัตถุประสงค์การวิจัยในแต่ละข้อว่าต้องการทำอะไร • อ่านสมมุติฐานเพื่อการตรวจสอบในทางสถิติให้เข้าใจทุกข้อ • เริ่มต้นด้วยการตรวจสอบการกระจายของข้อมูล เช่น พิจารณา Missing Value ไม่ทราบ ไม่ตอบ ไม่มีข้อมูล ในแต่ละคำถาม หรือ แต่ละตัวแปร • ทำความสะอาดข้อมูล ด้วยการตรวจสอบความถูกต้องทั้งหมด • จำนวนตัวอย่าง ในทุกตัวแปร หรือทุกข้อคำถามต้อง (ควร) เท่ากัน

  26. หัวใจสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยในเชิงปริมาณหัวใจสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยในเชิงปริมาณ • แสดงค่าการกระจาย, เพื่อค้นพบองค์ความรู้ใหม่, • ทดสอบทฤษฎี และ นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ • การพรรณนา (Description) แสดงผลจากการสำรวจ • การอธิบาย (Explanation) แสดงความสัมพันธ์ • การทำนาย การพยากรณ์ (Prediction; Estimate) ค้นหา Effect Size • การควบคุม (Control) ออกกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มาตรการ

  27. สมมุติฐานการวิจัยสำหรับพิสูจน์ในทางสถิติ(Statistical Testing Hypothesis) การพิสูจน์ตามแนวคิดเศรษฐมิติ (Econometric) หรือ หลักคิดเหตุและผลกระทบ (Cause and Consequence) ที่เชื่อว่า Cause  Consequence จะพบมากในการพิสูจน์โดยสมการ Regression Analysis เช่น ทฤษฎีการบริหารของ Max Weber “ขนาดองค์กรมีผลต่อการควบคุมประสิทธิภาพการทำงานองค์กรขนาดใหญ่หากการบริหารจัดการไม่เหมาะสม ขนาดขององค์กรจะมีผลในการชลอปสิทธิภาพการทำงาน” Size  Efficiency คำถามวิจัย “ขนาดขององค์กรที่ใหญ่โตจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานหรือไม่? อย่างไร? สมมุติฐานการวิจัย “ขนาดขององค์กรจะมีความสัมพันธ์ในทางลบกับประสิทธิภาพการทำงาน”

  28. สร้างตารางเปล่าไว้ล่วงหน้าสร้างตารางเปล่าไว้ล่วงหน้า • สร้างตารางเปล่าไว้ล่วงหน้าหลายๆตาราง ว่าในการวิเคราะห์และอภิปลายผลข้อมูล จะแสดงหรือชี้ให้เห็นปรากฏการณ์ใดบ้างจากข้อมูลที่เรามี • แนวคิดในการสร้างตารางต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเสมอ โดยตัวแปรอิสระจะกำหนดตัวแปรตาม • การเรียงลำดับที่ของตารางจะเรียงลำดับตามคำถามวิจัย จากคำถามแรกไปสู่คำถามสุดท้าย หรือ อีกนัยหนึ่งคือ จากคำถามที่ง่ายไปสู่คำถามที่ยาก

  29. การจัดระดับการวัดของตัวแปรในตารางการจัดระดับการวัดของตัวแปรในตาราง • ตัวแปรอิสระทุกตัวในตารางแสดงข้อมูลตัวเลข ต้องมีระดับการวัดสอดคล้องกับที่ระบุในนิยามศัพท์เพื่อการปฏิบัติการวิจัย • ตัวแปรตาม ทุกตัวในตารางแสดงข้อมูลตัวเลข ต้องมีระดับการวัดสอดคล้องกับที่ระบุในนิยามศัพท์เพื่อการปฏิบัติการวิจัย • ตัวแปรควบคุมทุกตัวในตารางแสดงข้อมูลตัวเลข ต้องมีระดับการวัดสอดคล้องกับที่ระบุในนิยามศัพท์เพื่อการปฏิบัติการวิจัย

  30. ตัวอย่างการสร้างตารางเบื้องต้น 1 1. ในกรณีที่มี 1 ตัวแปร เช่นเพศหรืออายุ ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของประชากรแยกตามเพศ เพศ ร้อยละ จำนวน ชาย 49.5 168 หญิง 50.4 172 รวม 100 340

  31. ตัวอย่างการสร้างตารางเบื้องต้น 2 ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของประชากรแยกตามกลุ่มอายุ อายุ ร้อยละ จำนวน 0-4 41.2 140 5-9 28.8 98 10-14 10.6 36 15-19 19.4 66 รวม 100 340

  32. Y X ตัวอย่างการสร้างตารางเบื้องต้น 4 ตารางที่ 3 รายได้ของประชากรแยกตามระดับการศึกษา รายได้ (บาท) การศึกษา รวม < 20,000 20,000-30,000 >30,000 ไม่ได้เรียน 50.0 40.0 10.0 100.0 ประถมศึกษา 48.0 45.0 7.0 100.0 มัธยมศึกษา 43.0 52.0 5.0 100.0 ปริญญาตรีขึ้นไป 8.0 40.0 52.0 100.0 เฉลี่ย 37.3 44.2 18.5 100.0

  33. การสร้างกราฟ • กราฟแท่งมีไว้เพื่อเปรียบเทียบความสูง ความห่าง ความต่าง • กราฟเส้นมีไว้เพื่อชี้และวิเคราะห์ให้เห็นความชัน ความลาด ความเร็ว ความโด่ง ความห่าง ระยะเวลา ความกว้าง แต่ไม่ควรแสดงเกินสามเส้นในหนึ่งกราฟ • กราฟวงกลมไม่ค่อยนิยม หากจะใช้จะเน้นที่ Segment และการหาทางกลืนพื้นที่

  34. กราฟที่นิยมใช้ กราฟแท่ง กราฟวงกลม กราฟเส้น

  35. วิธีการวิเคราะห์และตีความพร้อมอภิปรายผลวิธีการวิเคราะห์และตีความพร้อมอภิปรายผล • อ่านตาราง หรือดูกราฟที่สร้างขึ้นมาด้วยการใส่ใจมากๆในการคิด แล้ววิเคราะห์ แยกแยะ ตามความรู้ที่เคยอ่านพบในทฤษฎีก่อน เขียนความเห็นของเราลงไปก่อนว่าเราพบอะไรบ้างเมื่ออ่านจากตารางนี้หรือจากกราฟ จาก รูปนี้ จะนิยมเขียนไว้ไต้ตาราง หรือ ไต้กราฟ ไต้รูปไว้ก่อน • หลังจากนั้นพิจารณาด้วยการคิด วิเคราะห์ในใจอีกครั้งว่า ปรากฏการณ์ที่เห็นจากตารางนี้ จากกราฟนี้ หรือจากรูปนี้ เหมือน หรือคล้าย หรือ สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่ผ่านๆมาในบทวรรณกรรมที่เราเขียนไว้ของใครบ้าง แล้วเขียนบรรยายไว้อีกโดยนำอ้างอิงมาใส่ไว้ด้วยทุกบทความที่สอดคล้อง • แล้วพิจารณาอีกว่าแตกต่าง ขัดแย้ง ไม่สอดคล้องกับใครบ้าง เพราะอะไร หาความต่างให้พบแล้วเขียนบรรยายพร้อมอ้างอิงคนที่ต่าง • จากนั้นค่อยเขียนเรียบเรียงด้วยภาษาสารคดีให้สื่ออย่างเข้าใจ

  36. วิธีการเขียนเพื่อบรรยายตารางวิธีการเขียนเพื่อบรรยายตาราง • ให้เขียนแบบจัดตารางไว้ตรงกลางหน้า (Sandwich) • เขียนบรรยายมาก่อนแล้วระบุตารางต่อไปนี้ • แล้วอธิบายต่อว่า จากตารางข้างต้น พบปรากฏการณ์อะไรอีกบ้าง • ในหนึ่งหน้า ไม่ควรมีตารางมากเกินสองตาราง • ในหนึ่งหน้าไม่ควรมีกราฟ หรือรูป เกิน สอง กราฟ หรือ รูป

  37. หากพิจารณาถึงความสำคัญของลักษณะครัวเรือนต่อความเชื่อและการตัดสินใจใช้วิธีคุมกำเนิดสามารถจำลองเป็นแผนผังได้ดังนี้หากพิจารณาถึงความสำคัญของลักษณะครัวเรือนต่อความเชื่อและการตัดสินใจใช้วิธีคุมกำเนิดสามารถจำลองเป็นแผนผังได้ดังนี้ ลักษณะครัวเรือน  ความเชื่อ  การตัดสินใจคุมกำเนิด

  38. ประเด็นที่สองในวัตถุประสงค์การวิจัย ที่จะนำไปสู่การตอบคำถามการวิจัย (Domain 2) .......................................... ................................................... .............................(ฮ้างอิง 7/19)................................... ......................................(อ้างอิง 16/22/35)............. “……………………………….. ………………………………… ………………………………….” (…………………………….)

  39. ตัวอย่างแผนภาพเกี่ยวกับงานด้านสุขภาพตัวอย่างแผนภาพเกี่ยวกับงานด้านสุขภาพ บุคคลิคภาพของบุคคล อายุ, เพศ, ที่อยู่อาศัย, สถานะภาพสมรส พฤติกรรม สุขภาพที่ดีและ เหมาะสม สถานะสุขภาพ การใช้บริการสุขภาพ ปัจจัยที่กำหนด ใว้ในแผนงาน โอกาสเป็น มะเร็งปอด การมารับบริการ การไม่สูบบุหรี่ คุณภาพการให้บริการ

  40. บทที่ 5สรุปและข้อเสนอแนะ • สรุปผลการวิเคราะห์ที่บรรยายและอธิบายไว้ในบทที่ 4 เท่านั้น • แต่ย่อให้สั้นลงและกระชับ ไม่ต้องมีคำพูดและแผนผัง (แผนภาพ) • เน้นในประเด็นที่เป็นการตอบคำถามวิจัยและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย • ประมาณ 3 – 4 หน้า • ข้อเสนอแนะ ต้องนำข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัยมาชี้ให้เห็นว่าควรทำอย่างไร

  41. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ควรเน้นไปที่ครอบครัวขยายเนื่องจาก...................... 2…………………………………… ข้อเสนอสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ควรนำประเด็นที่คลุมเครือที่เราไม่แน่ใจว่าเราค้นพบแล้วหรือยังไม่พบไปเจาะต่อ เช่น ประเด็น .............................. เพราะ ................ หรือควรนำไปพิสูจน์อีกครั้งในอีกสังคมหนึ่ง ที่มีลักษณะที่คล้ายกันในเรื่องลักษณะของผู้รู้ แต่คนละบริบท

  42. บรรณานุกรม เรียงตามอักษร (โดยทั่วไปให้บรรณารักษ์ช่วย) ไทย 1…….. 2…….. 3……. อังกฤษ 4……. 5…… 6……

More Related