1 / 112

เครื่องวัดไฟฟ้า

เครื่องวัดไฟฟ้า. เสนอ. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. กิโลวัตต์ฮาว์มิเตอร์ Kilowatt-Hour Meter. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล. มาตรฐานรายวิชา. 1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ. 2. ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ วัดค่าทางไฟฟ้า. จุดประสงค์ครั้งนี้.

Download Presentation

เครื่องวัดไฟฟ้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครื่องวัดไฟฟ้า เสนอ นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ

  2. กิโลวัตต์ฮาว์มิเตอร์ Kilowatt-Hour Meter

  3. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล

  4. มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ 2. ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ วัดค่าทางไฟฟ้า

  5. จุดประสงค์ครั้งนี้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถนำไปใช้ได้เกี่ยวกับ 1. เพื่อให้รู้จักความหมายของกิโลวัตต์ฮาวมิเตอร์ 2. เพื่อศึกษาโครงสร้างและส่วนประกอบของกิโลวัตต์ฮาวมิเตอร์

  6. จุดประสงค์ครั้งนี้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถนำไปใช้ได้เกี่ยวกับ 3. เพื่อศึกษาการใช้กิโลวัตต์ฮาวมิเตอร์ 4. เพื่อรู้จักข้อควรระวังและการบำรุงรักษากิโลวัตต์ฮาวมิเตอร์

  7. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ...เครื่องวัดไฟฟ้า.... ชื่อผู้แต่ง.....อ.เอนก นรสาร..... สำนักพิมพ์.....ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2548........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  8. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.รัชนัย อินทุไส..... สำนักพิมพ์.....ฟิสิกส์เซ็นเตอร์....... ปีที่พิมพ์....2546........ จังหวัด... นครปฐม...

  9. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.พันธ์ศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์..... สำนักพิมพ์..... ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2548........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  10. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ.ชาญชัย แสนจันทร์..... สำนักพิมพ์..... ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ........ ปีที่พิมพ์....2547........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  11. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์.. ชื่อผู้แต่ง.....อ. วีรธรรม ไชยยงค์..... สำนักพิมพ์..... วังอักษร........ ปีที่พิมพ์....2547........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  12. วัตต์มิเตอร์ชนิด 3 เฟส โดยปกติจะประกอบด้วยวัตต์มิเตอร์ 1 เฟส 2 เครื่อง สําหรับขดลวดแรงดันซึ่งเป็นขดลวดเคลื่อนที่จะยึดติดกับแกนหมุนเดียวกัน แรงบิดที่เกิดขึ้นจะขึ้นอยู่กับผลบวกทางพีชคณิตของแรงบิดของวัตต์มิเตอร์แต่ละเครื่อง

  13. การวัดกําลังไฟฟ้าสามารถจําแนก เป็น 2 ประเภท คือ การวัดกําลังไฟฟ้าระบบ 1 เฟส และ การวัดกําลังไฟฟ้าระบบ 3 เฟส การวัดกําลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้า 3 เฟส มี 4 วิธีด้วยกัน

  14. 1. การวัดกําลังไฟฟ้าของระบบ 3 เฟส ด้วยวัตต์มิเตอร์หนึ่งเฟส 3 ตัว การวัดกําลังไฟฟ้าด้วยวิธีนี้ ใช้วัตต์มิเตอร์แต่ละตัวต่อวัดกําลังไฟฟ้าของโหลดแต่ละเฟส แล้วเอาผลที่ได้จากวัตต์มิเตอร์แต่ละตัวมารวมกันทางพีชคณิต

  15. จะได้กําลังไฟฟ้าของวงจรทั้งหมดในขณะนั้น ทั้งในกรณีที่โหลดแบบสมดุลและแบบไม่สมดุล วิธีต่อทําได้โดยนําขดลวดกระแสของวัตต์มิเตอร์ต่ออนุกรมกับโหลด และนําขดลวดแรงดันต่อขนานกับโหลด

  16. Wt = W1 + W2 + W3 Wt = กําลังไฟฟ้ารวมของวงจรสามเฟส W1 = กําลังไฟฟ้าจากวัตต์มิเตอร์ตัวที่ 1 W2 = กําลังไฟฟ้าจากวัตต์มิเตอร์ตัวที่ 2 W3 = กําลังไฟฟ้าจากวัตต์มิเตอร์ตัวที่ 3

  17. Wt = W1 + W2 + W3 ความยุ่งยากแบบนี้ก็คือ การที่จะต่อขดลวดกระแสอนุกรมกับโหลด ในแต่ละเฟสในขณะที่กําลังจ่ายไฟฟ้าให้กับโหลดอยู่ ซึ่งอาจจะทําให้เกิดการอาร์ครุนแรงได้

  18. Wt = W1 + W2 + W3 เป็นการไม่ประหยัด ซึ่งสามารถใช้วัตต์มิเตอร์ 2 ตัว ใช้วัดกําลังไฟฟ้า ของวงจรไฟฟ้าสามเฟสก็ได้

  19. 2. การวัดกําลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้า3 เฟส ด้วยวัตต์มิเตอร์หนึ่งเฟส 2 ตัว วิธีนี้ใช้วัดกําลังไฟฟ้าได้ทั้งในกรณีที่โหลดแบบสมดุลและแบบไม่สมดุล

  20. วิธีต่อวงจร คือ นําขดลวดกระแสของวัตต์มิเตอร์แต่ละตัวต่ออนุกรมกับสายไฟ (line)ของโหลด สําหรับขดลวดแรงดันให้ต่อขนานกับโหลดโดยให้ปลายที่เหลือของขดลวดแรงดันต่อรวมกันกับสายไฟ (line) ที่เหลือ

  21. การวัดกําลังไฟฟ้าวงจร 3 เฟส โดยใช้วัตต์มิเตอร์หนึ่งเฟส2 ตัว กรณีมีโหลดแบบสมดุล กําลังไฟฟ้าของวงจร 3 เฟส (Wt) จะมีค่าดังนี้คือ Wt = W1 + W2

  22. วิธีวัดกําลังไฟฟ้าด้วยวัตต์มิเตอร์ 2 ตัวนี้ มักจะดัดแปลงเป็นวัตต์มิเตอร์แบบ 3 เฟส ซึ่งนิยมใช้กับสวิทช์บอร์ด ที่เรียกว่า วัตต์มิเตอร์หลายเฟส (Poly phase wattmeter)

  23. 3. การวัดกําลังไฟฟ้าของระบบ 3 เฟส ด้วยวัตต์มิเตอร์1 เฟส 1 ตัว การวัดกําลังไฟฟ้าด้วยวิธีนี้ ใช้วัตต์มิเตอร์เพียงตัวเดียววัดกําลังไฟฟ้าของ ระบบ 3 เฟสโดยใช้สวิทช์สองทางช่วย เป็นวิธีประหยัดและค่าที่ได้ก็ถูกต้องเช่นเดียวกันกับกรณีที่ใช้วัตต์มิเตอร์ 2 ตัว

  24. เมื่อเลื่อนสวิทช์ไปยังตําแหน่ง 1 จะอ่านค่าได้ค่าหนึ่งและเมื่อเลื่อน สวิทช์ไปยังตําแหน่ง 2 จะอ่านค่าได้อีกค่าหนึ่ง แล้วนําค่าที่อ่านได้ทั้งสองครั้งมารวมกัน ก็จะได้ค่ากําลังไฟฟ้าของวงจร แต่วิธีนี้ไม่นิยมใช้เหมือนกับวิธีที่ 2 การใช้วัตต์มิเตอร์ 1 ตัววัดกําลังไฟฟ้าวิธีนี้เหมาะสําหรับกรณีที่โหลดแบบสมดุลเท่านั้น

  25. 4. การวัดกําลังไฟฟ้าระบบ 3 เฟสด้วยวัตต์มิเตอร์3 เฟส 1 ตัว วิธีนี้การต่อวงจรเหมือนกับวิธีวัดกําลังไฟฟ้าระบบ 3 เฟสด้วยวัตต์มิเตอร์ 2 ตัว ซึ่งวัตต์มิเตอร์3 เฟส ปกติจะประกอบด้วยวัตต์มิเตอร์ 1 เฟส 2 ตัว สําหรับขดลวดเคลื่อนที่จะยึดติดกับแกนหมุนเดียวกัน

  26. แรงบิดที่เกิดขึ้นจะขึ้นอยู่กับผลบวกทางพีชคณิตของแรงบิดจากวัตต์มิเตอร์แต่ละตัว เมื่อเข็มชี้ไปหยุดอยู่ ณ ตําแหน่งใดให้อ่านค่าโดยตรงได้เลย

  27. 1. การวัดค่ากำลังไฟฟ้าในวงจร ควรศึกษาการใช้งานวัตต์มิเตอร์ก่อน 2. ต้องคำนึงถึงขั้วการวัดตามคู่มือ ถ้าต่อผิดขั้ว ก็จะทำให้ค่ากำลังที่ได้ผิดพลาดหรืออาจทำความเสียหายได้

  28. 3.ในการวัดต้องคำนึงย่านวัดด้วยเนื่อง จากค่าที่ได้จากเข็มชี้ต้องนำมาคูณกับตัวคูณซึ่งค่าคูณในแต่ละย่านวัดมีค่าไม่เท่ากัน

  29. 4. ในการปรับย่านวัดแต่ละครั้ง ควรนำสายวัดออกจากจุดวัดก่อนเสมอ 5. ป้องกันมิให้โวลท์มิเตอร์ได้รับการกระทบกระเทือน ฝุ่นละออง ความชื้น และความร้อน

  30. 6.ในการวัดต้องระมัดระวังอันตรายจากไฟฟ้าดูดได้ โดยเฉพาะในการย่านวัดกำลังที่ค่าแรงดันสูง ๆ

  31. กิโลวัตต์ฮาว์มิเตอร์ Kilowatt-Hour Meter

  32. กิโลวัตต์ฮาว์มิเตอร์ หรือ วัตต์ฮาวร์มิเตอร์ วัตต์ฮาวร์มิเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นเครื่องวัดที่ทำงานด้วยการเหนี่ยวนำไฟฟ้า ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อวัดปริมาณกำลังไฟฟ้ากระแสสลับทั้งในบ้านเรือน และในโรงงานอุตสาหกรรม โดยมีหน่วยวัด พลังงานไฟฟ้า เป็นกิโลวัตต์ชั่วโมง (Kilowatt-hour) จำแนกตามระบบไฟฟ้าได้ 2 ประเภท

  33. แบ่งตามชนิดของระบบไฟฟ้าได้ 2 ชนิด 1) กิโลวัตต์ฮาว์มิเตอร์ ชนิด 1 เฟส 2) กิโลวัตต์ฮาว์มิเตอร์ ชนิด 3 เฟส

  34. วัตต์ฮาวร์มิเตอร์ 1 เฟส (single phase watt-hour meter) ทำงานเหมือนกับวัตต์มิเตอร์ชนิด การเหนี่ยวนำไฟฟ้า และมีส่วนประกอบที่เหมือนกันคือ ขดลวดกระแสไฟฟ้า (Current coil) และขดลวดแรงดันไฟฟ้า (Potential coil)

  35. ส่วนที่แตกต่างกันคือในวัตต์มิเตอร์จะแสดงค่าด้วยการบ่ายเบนของเข็มชี้ ซึ่งใช้ชี้ค่าบนสเกลส่วนวัตต์ฮาวร์มิเตอร์จะแสดงค่าโดยใช้แม่เหล็กเหนี่ยวนำให้เกิดกระแสไหลวนทำให้จานหมุนและใช้ชุดเฟืองไปขับชุดตัวเลขให้แสดงค่าออกมาบนหน้าปัทม์

  36. โครงสร้างประกอบด้วยขดลวดกระแสต่ออนุกรมกับโหลด และขดลวดแรงดันต่อขนานกับโหลด ขดลวดทั้งสองชุดจะพันอยู่บนแกนเหล็กที่ออกแบบโดยเฉพาะและมีจานอะลูมิเนียมบาง ๆ ยึดติดกับแกนหมุน วางอยู่ในช่องว่างระหว่างขดลวดทั้งสอง

  37. หลักการทำงาน ขดลวดกระแสและขดลวดแรงดันทำหน้าที่สร้างสนามแม่เหล็กส่งผ่านไปยังจานอะลูมิเนียมที่วางอยู่ระหว่างขดลวดทั้งสอง ทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำและมีกระแสไหลวน (Eddy current) เกิดขึ้นในจานอะลูมิเนียม

  38. แรงต้านระหว่างกระแสไหลวนและสนามแม่เหล็กของขดลวดแรงดันจะทำให้เกิดแรงผลักขึ้น จานอะลูมิเนียมจึงหมุนไปได้ ที่แกนของจานอะลูมิเนียมจะมีเฟืองติดอยู่ เฟืองนี้จะไปขับชุดตัวเลขที่หน้าปัดของเครื่องวัด

  39. แรงผลักที่เกิดขึ้นจะเป็นสัดส่วนระหว่างความเข้มของสนามแม่เหล็กของขดลวดแรงดันและกระแสไหลวนในจานอะลูมิเนียม และขึ้นอยู่กับจำนวนรอบของขดลวดด้วย ส่วนจำนวนรอบการหมุน ของจานอะลูมิเนียมขึ้นอยู่กับการใช้พลังงานไฟฟ้าของโหลด

More Related