130 likes | 278 Views
นิยามผู้ป่วยในการเฝ้าระวัง ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ (H1N1) และไข้หวัดนก. Tharawit Ouppapong , MD, DTM&H, MCTM. ผู้ป่วยรายงานในข่ายเฝ้าระวัง ( Reported case). 3. มีประวัติอย่างน้อยหนึ่งข้อดังต่อไปนี้
E N D
นิยามผู้ป่วยในการเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ (H1N1)และไข้หวัดนก Tharawit Ouppapong , MD, DTM&H, MCTM
ผู้ป่วยรายงานในข่ายเฝ้าระวัง (Reported case) 3. มีประวัติอย่างน้อยหนึ่งข้อดังต่อไปนี้ • อาศัยอยู่หรือเดินทางมาจากพื้นที่ที่พบผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดใหญ่ 2009(H1N1)ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วย • ผู้ป่วยปอดบวม ที่เป็นบุคลากรทางสาธารณสุข • ผู้ป่วยปอดบวมรุนแรงหรือเสียชีวิต ที่หาสาเหตุไม่ได้ • มีผู้สัมผัสร่วมบ้านหรือในที่ทำงานป่วยสงสัยไข้หวัดใหญ่หรือปอดอักเสบ ภายใน 7 วันก่อนเริ่มป่วย • สัมผัสสัตว์ปีกโดยตรงในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วย • มีการตายของสัตว์ปีกอย่างผิดปกติในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ในรอบ 14 วันก่อนวันเริ่มป่วย 2. อาการอย่างน้อยหนึ่งข้อดังต่อไปนี้ • น้ำมูก (Running nose) • ไอ (Cough) • เจ็บคอ (Sorethroat) • หายใจหอบ (Dyspnea) • ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (Myalgia) • แพทย์วินิจฉัยสงสัยว่าเป็นปอดบวม (pneumonia) หรือไข้หวัดใหญ่ (Influenza) ร่วมกับ 1. ไข้ (อุณหภูมิร่างกายมากกว่า 38 องศา) ร่วมกับ
ผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ (H1N1) หมายถึง ผู้ป่วยรายงานในข่ายที่มีผลการตรวจ PCRพบว่า • ติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ Influenza A โดย • ไม่พบผลบวกเมื่อใช้ Primer ที่จำเพาะกับ Seasonal Influenza A (สายพันธุ์ H1 หรือ H3) หรือ Avian influenza (H5)
ผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ (H1N1) หมายถึง ผู้ป่วยสงสัย(Suspect case)ที่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการพบการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ 2009 (H1N1) โดยวิธีใดวิธีหนึ่งดังต่อไปนี้ - RT-PCRหรือ - เพาะเชื้อไวรัสได้ (Viral culture) หรือ - มีระดับแอนติบอดีต่อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ที่ระบาดในเม็กซิโก เพิ่มขึ้นสี่เท่า ( 4-fold rising)
ผู้ป่วยตัดออกจากข่ายเฝ้าระวัง(Exclude case) หมายถึง ผู้ป่วยรายงานในข่ายที่มีผลการตรวจ PCR ว่า • ติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล Seasonal InfluenzaA (H1 หรือ H3) หรือ Influenza B) หรือ • ติดเชื้อไข้หวัดนก (Avian Influenza: H5) หรือ • ให้ผลลบต่อการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ (Negative results)
การควบคุมการระบาดเบื้องต้น (Early containment ) สำหรับไข้หวัดใหญ่ 2. ระยะเวลาถัดมาของการระบาด • ระยะหลังจากที่การระบาดได้ดำเนินผ่านไปแล้วมากกว่า 3 รุ่น (Generation)หรือ 14 วัน • เป็นช่วงที่ต้องนำมาตรการพิเศษต่างๆมาปฏิบัติ แบ่งเป็น 2 ช่วง • ระยะเริ่มต้นของการระบาด • ระยะแรกที่เพิ่งตรวจพบการระบาด • จำนวนผู้ป่วยยังไม่มากและสามารถควบคุมได้ • วัตถุประสงค์เพื่อลดโอกาสการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสให้มากที่สุด
ระยะเริ่มต้นของการระบาดระยะเริ่มต้นของการระบาด • การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) 2. การค้นหาและติดตามผู้สัมผัส (Contact tracing) 3. การให้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกัน (Antiviral prophylaxis) 4. การติดตามอาการเจ็บป่วยของผู้สัมผัส (Monitoring contacts for signs of illness) 5. การดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย (Case management) 6. การควบคุมการติดเชื้อในสถานพยาบาล
ช่วงระยะเวลาถัดมาของการระบาดช่วงระยะเวลาถัดมาของการระบาด 5. การรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ (Reporting of adverse events) • การแยกโดยความสมัครใจ (Voluntary quarantine) 2. การลดกิจกรรมทางสังคม (Social distancing) 3. การเตรียมสำรองยาต้านไวรัส (Deployment of the antiviral stockpile) • การให้ความยินยอมรับยาต้านไวรัส (Antiviral drugs: informed and voluntary consent)
แผนผังการดำเนินงานเฝ้าระวัง และสอบสวนการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ H1N1
ผู้ที่มีไข้ ≥38°c ร่วมกับมีอาการทางเดินหายใจและมีประวัติเดินทางมาจากต่างประเทศ เดินทางมาจากประเทศที่มีรายงานผู้ป่วยหรือมีการระบาดอย่างต่อเนื่องของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ H1N1 เดินทางมาจากประเทศที่ยังไม่มีรายงานผู้ป่วย - เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล และเข้าห้องแยกโรค - เก็บตัวอย่าง Throat swab ส่งตรวจ - Local-SRRT ติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิด - เก็บตัวอย่าง Throat swab ส่งตรวจ - แนะนำให้หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้อื่น พร้อมทั้งสังเกตผู้สัมผัสร่วมบ้าน 7 วัน ถ้ามีอาการให้ไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ยืนยันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ H1N1 positive PCRให้ผลลบไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ PCRให้ผลบวกไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ รอผลตรวจยืนยัน H1N1 - ผู้ป่วยติดตามอาการตนเอง - สังเกตผู้สัมผัสร่วมบ้าน 7 วัน ค้นหาและติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิดb ค้นหาและติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิดb - ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน d - ทีม SRRT ประเมินสถานการณ์ในชุมชนทุกวันจนครบ 14 วันนับแต่วันที่แยกผู้ป่วยยืนยันออกจากชุมชน ผู้สัมผัสมีอาการ ผู้สัมผัสไม่มีอาการ ผู้สัมผัสมีอาการ ผู้สัมผัสไม่มีอาการ ผู้สัมผัสไม่มีอาการ ผู้สัมผัสมีอาการ - เก็บตัวอย่าง Throat swab ส่งตรวจ - ส่งต่อผู้ป่วยเข้ารักษาที่โรงพยาบาล - ให้ยาต้านไวรัส Prophylaxis 10 วัน c - SRRT ติดตามวัดไข้ทุกวันจนครบ 7 วันหลังวันที่สัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย ถ้ามีไข้ส่งต่อไปรักษาที่ โรงพยาบาล - เก็บตัวอย่าง Throat swab ส่งตรวจ - ส่งต่อผู้ป่วยเข้ารักษาที่โรงพยาบาล - ให้ยาต้านไวรัส Prophylaxis 10 วัน c - SRRT ติดตามวัดไข้ทุกวันจนครบ 7 วันหลังวันที่สัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย ถ้ามีไข้ส่งต่อไปรักษาที่ โรงพยาบาล แนะนำให้ไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล Exclude
PCRให้ผลลบไข้หวัดใหญ่ชนิดเอPCRให้ผลลบไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ - ผู้ป่วยติดตามอาการตนเอง - สังเกตผู้สัมผัสร่วมบ้าน 7 วัน ผู้สัมผัสไม่มีอาการ ผู้สัมผัสมีอาการ Exclude แนะนำให้ไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล
PCRให้ผลบวกไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ รอผลตรวจยืนยัน H1N1 ค้นหาและติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิดb ผู้สัมผัสไม่มีอาการ ผู้สัมผัสมีอาการ - ให้ยาต้านไวรัส Prophylaxis 10 วัน - SRRT ติดตามวัดไข้ทุกวันจนครบ 7 วันหลังวันที่สัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย ถ้ามีไข้ส่งต่อไปรักษาที่ โรงพยาบาล - เก็บตัวอย่าง Throat swab ส่งตรวจ - ส่งต่อผู้ป่วยเข้ารักษาที่โรงพยาบาล
ยืนยันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ H1N1 ค้นหาและติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิดb - ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน - ทีม SRRT ประเมินสถานการณ์ในชุมชนทุกวันจนครบ 14 วันนับแต่วันที่แยกผู้ป่วยยืนยันออกจากชุมชน ผู้สัมผัสไม่มีอาการ ผู้สัมผัสมีอาการ - ให้ยาต้านไวรัส Prophylaxis 10 วัน - SRRT ติดตามวัดไข้ทุกวันจนครบ 7 วันหลังวันที่สัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย ถ้ามีไข้ส่งต่อไปรักษาที่ โรงพยาบาล - เก็บตัวอย่าง Throat swab ส่งตรวจ - ส่งต่อผู้ป่วยเข้ารักษาที่โรงพยาบาล