610 likes | 884 Views
การจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ ของหน่วยงานสนับสนุน. วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน 255 1. รศ.นวลจิรา ภัทรรังรอง ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตัว เป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง
E N D
การจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพของหน่วยงานสนับสนุน วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน 2551 รศ.นวลจิรา ภัทรรังรอง ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตัว เป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศ จะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพ ไว้ให้บริสุทธิ์ พระบรมราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก
วาระการประชุม • คู่มือการจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพของหน่วยงานสนับสนุน 2. ตัวอย่างการพัฒนาตัวบ่งชี้เฉพาะของหน่วยงานสนับสนุน 2.1 ฝ่ายหอสมุดคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร 2.2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ 2.3 กองกลาง 2.4 สำนักงานประกันคุณภาพ
กระบวนการจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพของหน่วยงานสนับสนุนกระบวนการจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพของหน่วยงานสนับสนุน • การจัดทำแผน (เป้าหมาย) • กระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล • รูปแบบ SAR ของหน่วยงานสนับสนุน ปีการศึกษา 2550 • การกำหนดค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 • การเขียนผลการดำเนินงาน • SWOT Analysis
1. การจัดทำแผน (เป้าหมาย) • แผน(เป้าหมาย) 2550-2554 หลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมาย 1. พิจารณาผลการดำเนินงานในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา หรือ 2. พิจารณาเกณฑ์มาตรฐานของ สมศ. และ สกอ. หรือ 3. เป้าหมายของมหาวิทยาลัย 4. ท้าทาย 5. มีพัฒนาการ
2. กระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ทำความเข้าใจกับความหมาย / กรอบเวลา การรวบรวมข้อมูลของแต่ละตัวบ่งชี้ การรวบรวมข้อมูล – Common data set การคำนวณผลการดำเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ โดยนำข้อมูลจาก Common data set
2. กระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล (ต่อ) 1. ทุกคณะ/หน่วยงานตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้องและเผยแพร่ Common data set พร้อม หลักฐานบนเว็บไซต์ของหน่วยงานตามเวลาที่กำหนด พร้อมทั้งแจ้ง E-mail ไปยัง - ผู้รวบรวมข้อมูลส่วนกลาง : psu-qadc@group.psu.ac.th - QMR : psu-qmr@group.psu.ac.th - QAC : psu-qac@group.psu.ac.th - คณะ/หน่วยงานแจ้ง URL มายัง psu-qao@group.psu.ac.th เพื่ออำนวยความสะดวกแก่หน่วยงานกลางในการเข้าถึงข้อมูล 2.คณะ/หน่วยงานตรวจสอบข้อมูลบนเว็บไซต์ของผู้รวบรวมข้อมูลส่วนกลาง (recheck) 3. สำนักงานประกันคุณภาพนัดประชุมเพื่อตรวจสอบข้อมูลครั้งสุดท้ายเพื่อยึดถือข้อมูล ร่วมกันก่อนการจัดทำ SAR ของคณะ/หน่วยงาน กลุ่มสาขาวิชา และมหาวิทยาลัย
3. รูปแบบ SAR ของหน่วยงานสนับสนุนปีการศึกษา 2550 การจัดทำรายงานประจำปีของหน่วยงานสนับสนุน หน่วยงานสนับสนุนทุกหน่วยงานจะต้องรายงานผลการดำเนินงานซึ่งถือเป็นตัวบ่งชี้พื้นฐานเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) ร่วมจำนวน 15 ตัวบ่งชี้ ซึ่งต้องรายงานและประเมินตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ยกเว้นเรื่องจำนวนครั้งความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ให้รายงานผลการดำเนินงานเพียงอย่างเดียว)
3. รูปแบบ SAR ของหน่วยงานสนับสนุนปีการศึกษา 2550 ส่วนประกอบของ SAR • ปก • คำนำ • สารบัญ • ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร • ตารางสรุปคะแนนและผลการประเมินตามภารกิจ • ตารางแสดงผลการดำเนินงาน และผลการประเมินตามภารกิจและตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษาที่รายงาน
3. รูปแบบ SAR ของหน่วยงานสนับสนุนปีการศึกษา 2550 ส่วนประกอบของ SAR • ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 25xx (SAR-8) • แนวทางการพัฒนาและผลการพัฒนาตามรายงานผลการประเมินคุณภาพของปีที่ผ่านมาและตามรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง • ผลงานนวัตกรรมระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 25xx-4 – 25xx • แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) • ภาคผนวก
แบบฟอร์มที่ 1 ปก (SAR-1) • รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ • ปีการศึกษา 25xx/ปีงบประมาณ 25xx • หน่วยงาน........................................... • วัน/เดือน/ปี
แบบฟอร์มที่ 2 คำนำ (SAR-2) • คำนำ • วัตถุประสงค์ • ภารกิจที่รายงาน • ช่วงเวลาที่รายงาน • อื่น ๆ • ลงชื่อ .………………………. • ( ) • ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน • วัน/เดือน/ปี
แบบฟอร์มที่ 3 สารบัญ (SAR-3) สารบัญ หน้า คำนำ สารบัญ ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ตารางสรุปคะแนนและผลการประเมินตามภารกิจ ตารางแสดงผลการดำเนินงานและผลการประเมินตามภารกิจ และตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษาที่รายงาน แนวทางการพัฒนาและผลการพัฒนาตามรายงานผลการประเมินคุณภาพ ของปีที่ผ่านมาและตามรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ผลงานนวัตกรรม แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ภาคผนวก - ภาคผนวก ก - ภาคผนวก ข - ภาคผนวก ค - ภาคผนวก ง - อื่น ๆ
แบบฟอร์มที่ 4 ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน (SAR-4) • ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน • ความเป็นมา • วัตถุประสงค์และ/หรือภารกิจหลัก • วิสัยทัศน์ • พันธกิจ • โครงสร้างส่วนราชการและการบริหาร • อื่น ๆ
แบบฟอร์มที่ 5 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (SAR-5) • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร • ……………………………………………… • ……………………………………………………………… • ผลการดำเนินงานตามภารกิจ • ภารกิจร่วมของหน่วยงาน • …………............................................................................................................................................................ • ภารกิจเฉพาะของหน่วยงาน • …………............................................................................................................................................................ • ภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย • ………….............................................................................................................................................................
แบบฟอร์มที่ 6 (SAR-6)ตารางสรุปคะแนนและผลการประเมินตามภารกิจ
แบบฟอร์ม 7 ตารางแสดงผลการดำเนินงาน และผลการประเมินตามภารกิจและตัวบ่งชี้ (SAR-7)
แบบฟอร์ม 7 ตารางแสดงผลการดำเนินงาน และผลการประเมินตามภารกิจและตัวบ่งชี้ (SAR-7)
แบบฟอร์มที่ 8 ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 25xx (SAR-8)
แบบฟอร์มที่ 8 (ต่อ) ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 25xx (SAR-8)
แบบฟอร์มที่ 9 (SAR-9)แนวทางการพัฒนาและผลการพัฒนาตามรายงานผลการประเมินคุณภาพของปีที่ผ่านมาและตามรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง
แบบฟอร์มที่ 10 (SAR-10) ผลงานนวัตกรรมระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 25xx-4 – 25xx
แบบฟอร์มที่ 11 (SAR-11) แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) • โครงการ – กิจกรรม • หน่วยงาน • คณะทำงานพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) • ข้อมูลทั่วไปของคณะ / หน่วยงาน วิสัยทัศน์ / พันธกิจ บุคลากร / นักศึกษา งบประมาณ / ผลงาน ฯลฯ • แผนงาน (Approach) • กระบวนการ (Process) หรือการปฏิบัติงานตามแผน (Deploy) • จุดแข็ง (Strength) หรือสิ่งที่ทำได้ดีในประเด็นที่นำเสนอ
แบบฟอร์มที่ 11 (SAR-11) แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) • การประเมินทบทวนผลการดำเนินงาน (Assessment & Review) • กลยุทธ์ หรือ ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ • แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต • ผลการดำเนินงาน(Result) (เปรียบเทียบ 3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับหน่วยงานภายใน/ภายนอก • บทสรุป • เอกสารอ้างอิง
แบบฟอร์มที่ 12 (SAR-12) ภาคผนวก ก ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินคุณภาพภายในหน่วยงานสนับสนุน
แบบฟอร์มที่ 13 (SAR-13) ภาคผนวก ข การกำหนดแผน / เป้าหมายการดำเนินงานตามภารกิจและตัวบ่งชี้
4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 • การกำหนดค่าน้ำหนักรวมของทุกภารกิจเท่ากับ 100 คะแนน • ตัวบ่งชี้ร่วมของหน่วยงานสนับสนุนจำนวน 40 คะแนน • ตัวบ่งชี้ตามภารกิจของหน่วยงานสนับสนุน 60 คะแนน • ส่วนหน่วยงานที่รับผิดชอบภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย ให้ยึดค่าน้ำหนักและเป้าหมายการดำเนินงานตามมหาวิทยาลัย
1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน ร้อยละ 1-54 ร้อยละ55-79 >ร้อยละ 80 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1. ประเมินตัวบ่งชี้ในแต่ละภารกิจ คะแนนเต็ม 5 คะแนน 1.1 ประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานของแต่ละตัวบ่งชี้ คะแนนเต็ม 3 คะแนน 1.1.1 การประเมินอิงเกณฑ์ เชิงปริมาณ เช่น ตัวบ่งชี้ 7.12 ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ้าไม่ถึงร้อยละ1 ประเมินได้ 0 คะแนน (ยกเว้น บางตัวบ่งชี้ที่เกณฑ์การประเมินเป็นระดับ อนุโลมให้ได้คะแนน 1 หากไม่เรียงข้อ)
1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 1 2 >3 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1.1.2 การประเมินอิงเกณฑ์ เชิงคุณภาพมี 2 แบบ 1. จำนวนระดับ 2. จำนวนข้อ เช่น ตัวบ่งชี้ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอนและการวิจัย (ระดับ) ระดับคุณภาพ 6=มีการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลของสถาบันผ่านเครือข่ายกับ สกอ.ตามรูปแบบมาตรฐานที่กำหนด 5 = มีการนำผลการประเมินในข้อ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานข้อมูล 4 = มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ฐานข้อมูล 3 = มีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานข้อมูล 2 = มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ 1 = มีนโยบายในการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน มีการดำเนินงาน 4ข้อ มีการดำเนินงาน ครบทุกข้อ มีการดำเนินงานไม่ครบ4ข้อ 4 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1.1.3 การประเมินอิงเกณฑ์เชิงคุณภาพ จำนวนข้อ เช่น ตัวบ่งชี้ 7.1 สภาสถาบันใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและผลักดันสถาบันให้แข่งขันในระดับสากล (ข้อ) เกณฑ์การพิจารณา 1 = สภาสถาบันมีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์และนโยบายของสถาบัน 2 = สภาสถาบันมีการติดตามผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันมากกว่าปีละ2ครั้ง 3= มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอย่างต่ำร้อยละ 80 ของแผน ในการประชุมแต่ครั้งละมีกรรมการเข้าประชุมโดยเฉลี่ยอย่างต่ำร้อยละ 80 มีการส่งเอกสารให้กรรมการสภาสถาบันอย่างน้อย7 วันก่อนการประชุม 4= สภาสถาบันจัดให้มีการประเมินผลงานของอธิการบดีหรือผู้บริหารสูงสุดตามหลักเกณฑ์ที่ตกลงกันไว้ล่วงหน้า 5= สภาสถาบันมีการดำเนินงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมการบริหารงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองค์กร
4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1.2 การประเมินอิงพัฒนาการ คะแนนเต็ม 1 คะแนน พิจารณาจาก - ผลการประเมิน (เทียบเกณฑ์) ปีการศึกษา 2548 (25xx-2) และผลการประเมินปีการศึกษา 2550 (25xx) - ถ้าผลการประเมินปีการศึกษา 2550 สูงกว่าผลการประเมิน ปีการศึกษา 2548 ไม่ต่ำกว่า 1 ระดับ ถือว่ามีพัฒนาการ หรือ ถ้าผลการประเมินปีการศึกษา 2550 อยู่ในระดับ 3 ก็ถือว่ามี พัฒนาการ - ถ้ามีพัฒนาการให้ 1 คะแนน - ถ้าไม่มีพัฒนาการให้ 0 คะแนน
4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 - กรณีเป็นหน่วยงานที่ยังไม่มีผลการดำเนินงาน ปี 2548 (25xx-2) คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 0 จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 4 ในการประเมินปีการศึกษา 2550(25xx) ใช้สูตรเทียบผลการประเมินเต็ม 5 y = mx + c เมื่อ y = คะแนนใหม่ที่ปรับแล้ว x = คะแนนที่ประเมินได้ m = 4/3 c = (-1/3)
ผลการประเมินปีการศึกษา 2548 ผลการประเมินปีการศึกษา 2550 การมีพัฒนาการ 0 0 ไม่มี 0 1 มี 0 2 มี 0 3 มี 1 0 ไม่มี 1 1 ไม่มี 1 2 มี 1 3 มี 2 0 ไม่มี 2 1 ไม่มี 2 2 ไม่มี 2 3 มี 3 0 ไม่มี 3 1 ไม่มี 3 2 ไม่มี 3 3 มี 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 ตารางการตัดสินพัฒนาการ
4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1.3 การประเมินประสิทธิผลตามแผนของหน่วยงานสนับสนุน ถ้าบรรลุตามแผน/เป้าหมายให้ 1 คะแนน ถ้าไม่บรรลุตามแผน/เป้าหมายให้ 0 คะแนน - KPIs ก.พ.ร. แผนงบประมาณ เป้าหมายของมหาวิทยาลัย - ตัวเลขแผนที่กำหนดไม่ควรต่ำเกินไป - ตัวเลขควรท้าทาย - พัฒนาการควร > ปี 2549
4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 • การประเมินผลระดับภารกิจ • ใช้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักผลการประเมินรายตัวบ่งชี้เป็นเกณฑ์ • สูตรการคำนวณคะแนนรายองค์ประกอบ • Σ(Wn × In) หรือ = (W1 × I1) + (W2 ×I2) +…+ (Wn × In) • ΣWn W1 + W2 +…+ Wn • W = ค่าคะแนนของตัวบ่งชี้ • I= ค่าคะแนนของตัวบ่งชี้จากการประเมิน • n= ลำดับที่ของตัวบ่งชี้ในแต่ละองค์ประกอบ n= 1,2,3.. n
4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 ตารางสรุปผลการประเมินระดับภารกิจ
4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 • 3. การประเมินระดับหน่วยงาน • 1.1 หน่วยงานจะได้รับการรับรอง เมื่อได้คะแนนเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก ทั้ง 3 ภารกิจ (ภารกิจร่วมของหน่วยงาน, ภารกิจเฉพาะของ หน่วยงาน, ภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย) ตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป (3.51-5.00) • 1.2 หน่วยงานจะได้รับการรับรองแบบมีเงื่อนไข เป็นไปได้ คือกรณีที่ ผลการประเมินเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนักทั้ง 3 ภารกิจ (ภารกิจร่วมของ หน่วยงาน, ภารกิจเฉพาะของหน่วยงาน, ภารกิจในฐานะผู้ ขับเคลื่อนตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย) อยู่ใน ระดับพอใช้ (2.51-3.50) • 1.3 หน่วยงานจะไม่ได้รับการรับรองเมื่อไม่เป็นไปตาม 1.1 หรือ 1.2
ภารกิจ/ตัวบ่งชี้ เป็นตัวเลขตามแนวทางของสกอ./ สมศ./ม.อ. วิสัยทัศน์ 5. การเขียนผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 1 รายละเอียดผลการดำเนินงาน สรุปความหมายของตัวเลขด้วยการบรรยาย (รายงานผลลัพธ์ก่อน แล้วตามด้วย ทำอย่างไร?) อธิบายเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่าง Output/ Outcome กับ Process และ Input และกระบวนการ PDCA-Par สรุปผลการประเมิน เทียบเกณฑ์/เทียบพัฒนาการ/เทียบเป้าหมาย รวมคะแนนของตัวบ่งชี้
5. การเขียนผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 2 วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค (SWOT Analysis) และกำหนด กลยุทธ์ และแนวทางพัฒนา เอกสารอ้างอิง
6. SWOT Analysis S=Strengths(จุดแข็ง) W=Weaknesses(จุดอ่อน) O=Opportunities(โอกาส) T=Threats(อุปสรรค) S+O=ปัจจัยเสริมสร้างศักยภาพขององค์กร W+T=ปัจจัยบั่นทอนศักยภาพขององค์กร
S=Strengths(จุดแข็ง) • ความสามารถและสถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นบวก • นำมาใช้ประโยชน์ในการทำงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ • การดำเนินงานภายในองค์กรที่ทำได้ดี
W S S S S องค์กร W W S W S S W=Weaknesses(จุดอ่อน) • สถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นลบและด้อยความสามารถ • องค์กรไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการทำงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ • การดำเนินงานภายในองค์กรที่ทำได้ไม่ดี
S=Strengths(จุดแข็ง) W=Weaknesses(จุดอ่อน) • Man power • Money • Material • Management
O=Opportunities (โอกาส) • ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่เอื้ออำนวยให้การทำงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ • สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานขององค์กร
T O O T T องค์กร O O T T=Threats(อุปสรรค) • ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่ขัดขวางการทำงานขององค์กร ให้บรรลุวัตถุประสงค์ • สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นปัญหาต่อการดำเนินงานขององค์กร
ปัจจัยภายนอก 9 ประการ • การเมือง(politics) • เศรษฐกิจ(economics) • สังคม(social) • เทคโนโลยี(technology) • นิเวศวิทยา(ecology) • การแข่งขัน(competition) • กฎหมาย(laws) • โครงสร้างพื้นฐาน(infrastructure) • ประชากร(demography)
ใครคือผู้รับผิดชอบเขียน SWOT Analysis ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติ
ระบบบริหารความเสี่ยง (PSU-QA-RM-MODEL) ทุกคณะ/หน่วยงาน นำจุดอ่อนและ/หรือข้อเสนอแนะ แผนบริหารความเสี่ยง/การควบคุมภายใน อธิการบดี คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน(คตง.)/คณะกรรมการตรวจสอบมหาวิทยาลัย
ภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย กองแผนงาน