600 likes | 748 Views
การเข้าสู่การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยศิลปากร. โดย สุมนต์ สกลไชย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยอีสาน กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วันที่ 25 ตุลาคม 2556. 1. การประเมินและจัดอันดับมหาวิทยาลัย.
E N D
การเข้าสู่การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยศิลปากรการเข้าสู่การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยสุมนต์ สกลไชยอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยอีสานกรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยศิลปากร วันที่ 25 ตุลาคม 2556
1. การประเมินและจัดอันดับมหาวิทยาลัย 1.1 การประเมินมหาวิทยาลัย (University Evaluation, University Assessment, University Rating) • -เป็นการประเมินผลงานของมหาวิทยาลัยโดยเทียบเคียงกับเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ แปลงเป็นค่าคะแนน เช่น ได้ 4.6 จากคะแนนเต็ม 5 แล้ว แปลความหมายเป็น ระดับ อาทิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ไม่ผ่าน เป็นต้น • -ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เปรียบเทียบค่าคะแนนกับสถาบันอื่น แต่ในทางปฏิบัติ ก็มีการนำไปเปรียบเทียบเพื่อประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์หรือ การตลาด • -องค์กรที่ดำเนินการ มิได้นำค่าคะแนนของแต่บะสถาบันมาเรียงลำดับแล้วจัดลำดับหรืออันดับ • -องคกรที่ประเมิน ได้แก่ กพร การประเมินคุณภาพภายในโดย สกอ การประเมินคุณภาพภายนอกโดย สมศ สกว สกอ ( เคยทำเมื่อปี2549)
1.2 การจัดอันดับมหาวิทยาลัย University Ranking • เป็นการประเมินผลงานของมหาวิทยาลัยตามองค์ประกอบต่างๆตามตัวบ่งชี้ที่กำหนด แปลงเป็นค่าคะแนน อาทิ ร้อยละ หรือคะแนนดิบ จากนั้น นำค่าคะแนนมาจัดอันดับสูงต่ำ • โดยอาจจัดอันดับเปรียบเทียบหลายมิติ อาทิ ตามระดับโลกหรือภูมิภาค ( world ranking, Asian Ranking ) ตามสาขาวิชา ( อาทิ. Engineering, Science. ) • องค์การที่จัดอันดับในประเทศ: ยังไม่มี • ต่างประเทศ: Times Higher Education, QS เป็นต้น แต่ละองค์กร มีวัตถุประสงค์ต่างกัน ตัวชี้วัดต่างกัน จุดเน้นต่างกัน การได้มาซึ่งข้อมูลหรือคะแนนต่างกัน
QS World University RankingsThai Universities in QS Rankings 2013
SC Imago Institutions Rankings (SIR) • SIR World Reports 2012 is the most comprehensive ranking of Worldwide Research Institutions. Following the goal of embracing every institution around the world with meaningful scientific output, the ranking now includes 3,290 institutions that together are responsible for more than 80% of worldwide scientific output during the term 2006-10 as indexed in Elsevier's Scopus database.
SIR World Report 2013 • IC::International Collaboration • NI::Normalized Impact • Q1::High Quality Publications • SI::Specialization Index • ER::Excellence Rate
QS University Rankings : ASIA Rankings 2012 • Mahidol University (rank #38, overall score = 70.6) • Academic reputation = 85.6 • Employer reputation = 47.1 • Faculty Student ratio = 94.3 • papers per faculty = 23.8 • citations per paper = 93.5 • International faculty = 29.1 • International students = 18.4 • Inbound exchange students = 9.5 • Outbound exchange students = 8.0
Chulalongkorn University (rank#43, overall score=69.9) • Academic reputation = 98.4 • Employer reputation = 74.2 • Faculty Student ratio = 58.3 • papers per faculty = 27.8 • citations per paper = 65.2 • International faculty = 51.6 • International students = 5.6 • Inbound exchange students = 22.1 • Outbound exchange students = 12.7
QS University Rankings : ASIA Rankings 2011 • Mahidol University (rank #34, score = 77.09) • Chulalongkorn University (rank#47, score=69.90) • Chiang Mai University (rank #67, score=56.70) • Thammasat University (rank#88, score=51.60) • Prince of Songkla University (rank#95, score=48.90) • Khon Kaen University (rank#114,, score=44.40) • Kasetsart University (rank#120, score=43.20)
Performance Ranking of Scientific Papers for World Universities : National Taiwan University Ranking (NTU Ranking)
NTU Ranking Year 2012 • Mahidol University : • Country Rank = #1 /11 Years • Articles = 6.75, Current Articles = 7.92 / 11 Year • Citations = 2.23 • Current Citations = 3.51 / Ave. • Citations = 21.05 • h index = 27.50 /HiCi • papers = 1.07 / Hi-Impact • Journal Articles = 2.65 • Total Score = 7.96
Times Higher Education (THE) Regional Rankings – ASIA2012-2013
Times Higher Education (THE) World University Rankings : 2012 - 2013
Times Higher Education (THE)World University Rankings : 2011 - 2012
THE-QS Rankings (2004-2009) (No more THE-QS! On October 30, 2009, Times Higher Education signed deal with Thomson Reuters, instead of QS.)
Academic Ranking of World Universities (ARWU)Center for World-class Universities, Graduate School of Education, Shanghai Jiao Tong University, China
-Top 500 World Universities - 2012 (No Thai University)- Top 500 World Universities - 2011 (No Thai University) - Top 500 World Universities - 2010 (No Thai University)- Top 500 World Universities - 2009 (No Thai University) - Top 500 World Universities - 2008 (No Thai University)- Top 500 World Universities - 2007 (No Thai University)- Top 500 World Universities - 2006 (No Thai University)- Top 500 World Universities - 2005 (No Thai University)
UI GreenMetric World Universities Ranking Universitas Indonesia (UI) • World Ranking 2012 1. Mahidol University (Rank #36) 2. King Mongkut's University of Technology Thonburi (Rank #38)3. Chulalongkorn University (Rank #41)4. Kasetsart University (Rank #44)5. Mahasarakham University (Rank #71)6. King Mongkut's University of Technology North Bangkok (Rank #175) 6. Burapha University (Rank #195)
Washington Monthly's 2009 National University College Rankings • Rankings based on contribution to the public good in three broad categories : • Social Mobility (recruiting and graduating low-income students) • Research (producing cutting-edge scholarship and PhDs) • Service (encouraging students to give something back to their country)
International Colleges & Universities • Web Popularity Ranking The aim of this website is to provide an approximate popularity ranking of worldwide Universities and Colleges based upon the popularity of their websites. This can especially help international students to understand how popular a specific University/College is in a foreign country. • 1 Kasetsart University (Work Rank # 199) • 2 Chulalongkorn University (Work Rank # 201) • 3 Mahidol University (Work Rank # 273) • 4 Thammasat University (Work Rank # 364) • 5 Asian Institute of Technology (Work Rank # 486) • 6 Prince of Songkla University (Work Rank # 607) • 7 Ramkhamhaeng University (Work Rank # 794) • 8 KhonKaen University (Work Rank # 828)
2010 Web Popularity Ranking • 1Chulalongkorn University (Work Rank # 103) • 2Kasetsart University (Work Rank # 113) • 3Mahidol University (Work Rank # 162) • 4Khon Kaen University (Work Rank # 195) • 5Thammasat University (Work Rank # 239) • 6Asian Institute of Technology (Work Rank # 445) • 7Prince of Songkla University (Work Rank # 733)
2009 Web Popularity Ranking • 1 Chulalongkorn University (Work Rank #116) • 2 Khon Kaen University (Work Rank #172) • 3 Mahidol University ((Work Rank #197) 2008 Web Popularity Ranking • 1 Chulalongkorn University (Work Rank #112) • 2 Khon Kaen University (World Rank #160) • 3 Mahidol University (World Rank #182)
องค์กรจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับนานาชาติองค์กรจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับนานาชาติ • QS university ranking • Webometric ranking • SC Imago Institutions Rankings • CWTS Leiden Ranking • University Ranking by Academic Performance (URAP) • Times Higher Education (THE) University Rankings • THE-QS Rankings (2004-2009) • Academic Ranking of World Universities (ARWU) by Shanghai Jiao Tong University, China • UI GreenMetric World Universities Ranking Universitas Indonesia (UI) • Washington Monthly's National University College Rankings • Web Popularity Ranking by 4ICU
ตัวอย่างเกณฑ์การจัดอันดับตัวอย่างเกณฑ์การจัดอันดับ Major Criteria • Academic Score • Academic Rank • Employee score • Employee rank • Student: Faculty ratio • Student / faculty rank • Academic Reputation • Employee reputation • Paper per faculty • Citations per paper • International Faculty • International students • Inbound / Outbound exchange
บทบาทของมหาวิทยาลัยและคณะบทบาทของมหาวิทยาลัยและคณะ • ทำอย่างไรจึงจะมีผลการดำเนินงานให้ได้ตามเกณฑ์ที่แต่ละแห่งกำหนดหรือให้ได้ผลดีที่สุด
2. มหาวิทยาลัยของไทยควรเข้าสู่การจัดอันดับหรือไม่ สรุปว่า ควร เหตุผล: • เป็นการกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวเพื่อพัฒนา • แม้ไม่เข้าเอง บางอย่างก็อาจถูกจัดโดยไม่รู้ตัว • การประชาสัมพันธ์และการตลาดในภาพรวมกดดัน • ถ้าผลดี ส่งผลให้เกิดความพึงพอใจแก่นักศึกษาและบุคลากร • เพิ่มภาพลักษณ์ขององค์กรในมุมมองภายนอกและศิษย์เก่า
3. ผลการจัดอันดับของมหาวิทยาลัยศิลปรกร • ในปี 2012 - 2013 มศก. มีอันดับใน QS Asia Ranking แล้ว ? • SC Imago Institutions Ranking (SIR) โดยในปี 2013 Silpakorn : 2374(world rank), 849 (region rank), 19 ( country ranking) behind มทส มมส มน • University Ranking by Academic performance , by country SU rank 13, world rank 1654, Category B • 4ICU 4 International Colleges is ranked at 1769 by 2013 University Web ranking • ตามแผนของมหาวิทยาลัย จะเข้าสู่ QS ranking • ค่อนข้างสายในการเข้าสู่ระบบการจัดอันดับ แต่ก็ดีกว่าไม่เข้า
4. ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการได้อันดับที่น่าพึงพอใจ 4.1 ความเข้าใจอย่างชัดเจนถึงหลักเกณฑ์และวิธีการในการคิดคะแนนและจัดอันดับ 4.2 มีเนื้อหาตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดและได้คะแนนดี หรือทำให้เกิดขึ้นอย่างดีที่สุด เช่น • ปัญหาที่พบ ความสำเร็จของเนื้อหาไม่ได้อยู่ที่ตัวเรา อยู่ที่คนอื่น เป็นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ • เนื้อหาของตัวบ่งชี้นั้น เราได้ยากหรือน้อย เช่น จำนวนผู้ได้รับรางวัลโนเบล จำนวนผลงานวิจัย ระดับคุณภาพ จำนวนครั้งของการอ้างอิง
4. ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการได้อันดับที่น่าพึงพอใจ (ต่อ) • ตัวบ่งชี้บางตัวอยู่ในวิสัยทำให้ดีได้ ง่ายยากแตกต่างกัน อาทิ - สัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา - จำนวนอาจารย์ชาวต่างชาติ จำนวนนักศึกษาที่ไปแลกเปลี่ยนในต่างประเทศ จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่รับเข้าแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัย - จำนวนงบประมาณที่ใช้สำหรับห้องสมุด • มหาวิทยาลัยและคณะ จะมีกลยุทธ์และวิธีการอย่างไร
4. ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการได้อันดับที่น่าพึงพอใจ (ต่อ) 4.3 ระบบรายงานเพื่อให้ได้เนื้อหาตามตัวบ่งชี้จากต้นทางถึงปลายทางไม่ดีเท่าที่ควร อาทิ - เงินวิจัยที่บุคลากรของมหาวิทยาลัยได้รับในแต่ละปี การรวบรวมตัวเลขมิใช่แค่งบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ มีอีกมาก โดยต้องรวบรวมจากอาจารย์ด้วย - ทำอย่างไรจะรวบรวมได้ครบ ทันเวลา ถูกต้อง เชื่อถือได้ แล้วกว่าจะมาถึงคนใช้ประโยชน์ มักจะไม่ครบหรือไม่ทันเวลา
4. ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการได้อันดับที่น่าพึงพอใจ (ต่อ) 4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลดิบจากบุคคลและหน่วยงานภายในเพื่อนำไปสู่รายงานเพื่อส่งต่อองค์กรจัดอันดับ - ต้องใช้คนที่เก่งและมีประสิทธิภาพ อ่านและเข้าใจภาษาอังกฤษอย่างดี - เข้าใจตัวบ่งชี้และคำอธิบายอย่างแจ่มชัดที่เชื่อถือได้ ฟันธงได้ว่า ใช่ไม่ใช่ - ส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ดึงมาช่วยกัน สายสนับสนุน ยากมากที่จะถึงขั้นนี้ แค่หยิบเอกสารให้ถูก หาเอกสารให้เจอ ใส่แฟ้มเป็น พูดฟังให้รู้เรื่อง ก็บุญแล้ว ต้องหาคนมีแวว มาฝึก แต่ต้องเก่งภาษาอังกฤษ เริ่มต้น ต้องมีทีมงานที่เก่ง หรือมีแววเก่ง ถ้าเป็นไปได้ ทั้งระดับมหาวิทยาลัยและคณะ ระดับคณะ หนีไม่พ้นอาจารย์ ในระยะเริ่มแรก
4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลดิบจากบุคคลและหน่วยงานภายในเพื่อนำไปสู่รายงานเพื่อส่งต่อองค์กรจัดอันดับ (ต่อ) - การจะทำขั้นตอนนี้ให้ดี ต้องมี การวบรวมจากระดับคณะให้ดี ทันเวลา ใช้ได้ ( อาจผิดเรื่อง ช่วงเวลา เช่น เอาปีไหน นับอย่างไร อย่างนั้นอย่างนี้ นับได่หรือไม่) - ไม่ควรรอจนถึงเทศกาลนั้นๆ ควรจัดให้มีการรายงานและเผยแพร่ไว้ล่วงหน้าเป็นระยะไว้เลย เช่น ทุกเดือน ขึ้นUpload ผลการดำเนินงานเรื่องนั้นไว้ในเว็ปของคณะโดยต้องทำให้เป็นปัจจุบันที่สุดทุกเดือน บางตัวชี้วัด เช่น บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ ตำราที่อาจารย์เขียน ตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ เป็นต้น จัดกลไกให้อาจารยย์ upload ด้วยตนเอง สร้างกลไกสนับสนุนและขอความร่วมมือให้อาจารย์ช่วยกัน upload ข้อมูล
4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลดิบจากบุคคลและหน่วยงานภายในเพื่อนำไปสู่รายงานเพื่อส่งต่อองค์กรจัดอันดับ (ต่อ) - ตัวบ่งชี้บางตัว เราอาจไม่ต้องทำเอง อาทิ จำนวนบทความวิจัยที่อยุ่ในฐานข้อมูลSCOPUS หาคนหรือฝึกเจ้าหน้าที่ให้ทำ ถ้าหาไม่ได้ ขอให้อาจารย์ที่เก่งช่วย แต่เรื่องนี้ฝึกไม่ยาก - การรวบรวมเมื่อใกล้กำหนดส่ง หรือพ้นช่วงเวลาทีนับได้ ถือว่า สายเกินแก้แล้ว เพราะหากขาดข้อมูล หรือคะแนนน้อยกว่าที่ควรเป็นจะแก้ไขอะไรไม่ได้แล้ว ควรมารวบรวมและวิเคราะห์เป็นรายช่วงเวลา เช่น ทุกสามเดือน เป็นต้น