1 / 21

ขั้นตอนการเสนอร่างพระราชบัญญัติการประมง

สลค. เสนอ ครม. หน่วยงานรัฐส่งร่าง กฎหมาย ไปที่ สลค. ขั้นตอนการเสนอร่างพระราชบัญญัติการประมง. ๑. ๒. ครม.พิจารณา เห็นชอบหลักการ. ๓. สคก.ตรวจพิจารณา. ๔. ส่งคณะกรรมการประสาน งานสภาผู้แทนพิจารณา. ๕. สลค.นำขึ้นทูลเกล้าถวาย เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย. สลค.นำลงใน ราชกิจจานุเบกษา.

brier
Download Presentation

ขั้นตอนการเสนอร่างพระราชบัญญัติการประมง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สลค. เสนอ ครม. หน่วยงานรัฐส่งร่าง กฎหมายไปที่ สลค. ขั้นตอนการเสนอร่างพระราชบัญญัติการประมง ๑ ๒ ครม.พิจารณา เห็นชอบหลักการ ๓ สคก.ตรวจพิจารณา ๔ ส่งคณะกรรมการประสาน งานสภาผู้แทนพิจารณา ๕ สลค.นำขึ้นทูลเกล้าถวาย เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย สลค.นำลงใน ราชกิจจานุเบกษา ส่งรัฐสภาพิจารณา (สภาผู้แทน/สภาวุฒิ) ๖ ๗ ๘

  2. นำเสนอร่างพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ....ฉบับผ่านการตรวจร่างของคณะกรรมการกฤษฎีกา

  3. โครงสร้างของร่างพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. .... • มาตรา ๑ ถึงมาตรา ๕ • หมวด ๑ การบริหารจัดการด้านการประมง • หมวด ๒ เขตการประมง • หมวด ๓ การส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • หมวด ๔ สุขอนามัยของสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ • หมวด ๕ การนำเข้าและส่งออกสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ • หมวด ๖ การประมงนอกน่านน้ำไทย • หมวด ๗ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมใบแทนใบอนุญาต • หมวด ๘ การโอนใบอนุญาต

  4. โครงสร้างของร่างพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. .... • หมวด ๙ พนักงานเจ้าหน้าที่ • หมวด ๑๐ มาตรการทางปกครอง • หมวด ๑๑ บทกำหนดโทษ • บทเฉพาะกาล • อัตราค่าอากรใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงตามประเภทเครื่องมือทำการประมง • อัตราค่าธรรมเนียม

  5. สรุปภาพรวมเนื้อหาของร่างพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ....

  6. แผนปฏิบัติราชการ กระทรวง/กรม แผนบริหารราชการแผ่นดิน น.พัฒนาการประมงในน่านน้ำไทยฯ น.พัฒนาการประมงนอกน่านน้ำไทย น.พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศ น.พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องด้านการประมง โครงสร้างการบริหารการประมง ตามร่าง พ.ร.บ. สั่งการ ๒.๒ ๒.๑ กำหนด ครม. ภาครัฐ ๑ มอบหมายเรื่องให้ดำเนินการ กำหนด ๑๐ แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ /ให้ออก ค.นโยบายประมงแห่งชาติ (ม.๙,ม.๑๔) ๓ กำหนด ตั้งอนุกรรมการฯ -แนวทางและเป้าหมายในการ พัฒนาการประมงของประเทศ -แนวทางในการบริหาร จัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ -การแก้ไขปัญหาการทำการประมงนอกน่านน้ำไทย -นโยบายและแนวทางแก้ไขปัญหาในการพัฒนา ประมงนอกน่านน้ำไทย ๙ กำกับดูแล/ให้คำปรึกษา มอบหมายเรื่องให้ดำเนินการ ค.ประมงนอกน่านน้ำ ไทย(ม.๕๑,๕๒) เสนอแนะ ๔ อธิบดีฯ ๘ รัฐมนตรีฯ ๗ เสนอแนะในการออกระเบียบ ๖ เสนอแนะในการออกกฎกระทรวงฯ ตั้งอนุกรรมการฯ ๕ มอบหมายเรื่องให้ดำเนินการ / แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ -ให้ออก

  7. เขตประมงน้ำจืด (ม.๓๒) เขตการประมง เขตประมงทะเลชายฝั่ง (ม.๓๐) เขตประมงทะเลนอกชายฝั่ง (ม๓๑)

  8. เส้นน้ำเงินหมายเลข ๑ คือ เส้นเขตเศรษฐกิจจำเพาะ เส้นชมพูหมายเลข ๓ คือ เส้น ๓ไมล์ทะเล

  9. ผวจ.+รมต.เห็นชอบ กำหนดห้ามใช้เครื่องมือประมงฯ ม.๖(๑) มาตรการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ เขตประมงน้ำจืด กำหนดห้ามวิธีการใช้เครื่องมือประมงฯ ม.๖(๒) กำหนดสัตว์น้ำที่ห้ามทำการประมงฯ ม.๖(๓) เขตประมงทะเล ชายฝั่ง กำหนดที่จับสัตว์น้ำที่ห้ามทำการประมงฯ ม.๖(๔) เขตประมงทะเล นอกชายฝั่ง กำหนดระยะเวลาห้ามทำการประมงฯ ม.๖(๕) กำหนดให้ทำเครื่องหมายที่เครื่องมือประมงฯม.๖(๖) ๑ รมต.

  10. การใช้เครื่องมือประมงทำการประมงการใช้เครื่องมือประมงทำการประมง การทำการประมงในเขตการประมง จ่ายเงินอากร ขออนุญาต ๓ เขตประมงน้ำจืด เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๓๓ กำหนดให้ต้องได้รับใบอนุญาต ๑ เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๕ กำหนดให้ต้องจ่ายเงินอากร เขตประมงทะเลชายฝั่ง ๕ ๒ เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๓๓ กำหนดให้ต้องได้รับใบอนุญาต เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๕ กำหนดให้ต้องจ่ายเงินอากร ๖ ๔ เขตประมงทะเลนอกชายฝั่ง เครื่องมือประมง ทุกชนิดต้องได้รับ ใบอนุญาต (ม.๓๔) เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๕ กำหนดให้ต้องจ่ายเงินอากร ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กำหนดในกฎกระทรวง

  11. ก. ทะเลหลวง การใช้เรือประมงไทยออกไปทำการประมงนอกน่านน้ำ เฉพาะบริเวณที่ไทยเป็นภาคีบริหารจัดการทรัพยากร สัตว์น้ำ เช่น IOTC กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาต โดยกฎกระทรวง ผู้ใช้เรือฯ ต้องขออนุญาต และเสียค่าธรรมเนียม (ม.๕๖)

  12. น่านน้ำรัฐต่างชาติ ข. เจ้าของเรือที่ละเมิดน่านน้ำ ของรัฐอื่นต้องรับผิดชอบ ม.๕๗ การใช้เรือประมงไทยออกไปทำการประมงนอกน่านน้ำ กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาตในกฎกระทรวง/ ในใบอนุญาต ผู้ใช้เรือฯต้องขออนุญาต/เสียค่าธรรมเนียม (ม.๕๕) ผู้ทำข้อตกลงต้องแจ้งการได้สิทธิ (ม.๕๔) ๑ ตามระเบียบที่อธิบดีกำหนด

  13. มาตรการคุ้มครองทรัพยากรสัตว์น้ำมาตรการคุ้มครองทรัพยากรสัตว์น้ำ ม.๑๘ ห้ามเกี่ยวกับกรณี จะเป็นอันตรายแก่สัตว์น้ำ ม.๓๖ กำหนดที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ ม.๑๙ ห้ามใช้ไฟฟ้า/ระเบิด สัตว์น้ำ ม.๒๘ ห้ามครอบครองเครื่องมือประมง ที่มีผลทำลายพันธุ์สัตว์น้ำอย่างร้ายแรงฯ ม.๒๐ ห้ามมีไว้ในครอบครอง ซึ่งสัตว์น้ำที่ได้จากม.๑๘ ม.๑๙ ม.๒๗ ห้ามปล่อยสัตว์น้ำฯ ม.๒๑ห้ามปลูกสร้างฯ ปลูกบัวฯ พันธุ์ไม้น้ำฯ ม.๒๕ ห้ามครอบครองสัตว์น้ำฯ ม.๒๒ ห้ามวิดน้ำ/ทำน้ำลด-แห้งฯ ม.๒๔ ห้ามกั้นทางเดินสัตว์น้ำฯ ม.๒๓ ห้ามแก้ไขเปลี่ยนแปลง ที่จับสัตว์น้ำฯ

  14. ๒ ภาครัฐ การส่งเสริม การควบคุม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ๓ กำหนดบริเวณที่จับสัตว์ น้ำ ที่ต้องขออนุญาต เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ(ม.๔๒) กำหนดกิจการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำที่ต้องควบคุม(ม.๔๐) การบริการ กำหนดมาตรฐานส่งเสริม (ม.๓๘) ออกข้อกำหนดเพื่อควบคุม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (ม.๔๑ (๑)-(๗)) การตรวจรับรองเกี่ยวกับ การเพาะเลี้ยง (เรียกเก็บ ค่าใช้จ่ายตาม ม.๓๙) ออกหนังสือรับรองการได้ มาตรฐาน (ม.๓๘ ว ๒) กำหนดให้ต้องมี MD (ม.๔๓) ๒.๓ ๒.๑ ๒.๒ ผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

  15. ๑ การส่งเสริม การควบคุม ภาครัฐ สุขอนามัยสัตว์น้ำ / ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ๓ ป้องกัน กำหนดมาตรฐานส่งเสริมให้ สัตว์น้ำ/ผลิตภัณฑ์ฯ มีคุณภาพได้ มาตรฐานด้านสุขอนามัย (ม.๔๔) การดูแลรักษาสัตว์น้ำหลังการจับ ห้ามทำการประมง กรณีที่จับสัตวน้ำ เกิดสภาวะมลพิษ, มีการปนเปื้อนของ สารพิษหรือสิ่งที่อาจ เป็นอันตรายต่อคน/ สัตว์น้ำ (ม.๔๗) กำหนดกิจการที่ควบคุมการดูแล รักษาสัตว์น้ำหลังการจับ (ม.๔๕) ออกหนังสือรับรองการได้ มาตรฐาน (ม.๔๔ ว ๒) ออกข้อกำหนดเพื่อให้ผู้ประกอบ กิจการที่ควบคุมต้องถือปฏิบัติ (ม.๔๖(๑)-(๔))

  16. ภาครัฐ ควบคุม การนำเข้าและส่งออกสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ บริการ ๒ ๑ ข้อห้าม ตรวจรับรอง สัตว์น้ำ/ผลิตภัณฑ์ สัตว์น้ำ เพื่อการ ส่งออกหรือการ อื่นโดยเรียกเก็บค่า ใช้จ่าย (ม.๔๙) ออกกฎกระทรวงกำหนด สัตวน้ำ/ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ที่ต้องถูกควบคุม (ม.๔๘) สัตว์น้ำ/ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ได้จาก (๑) ฝ่าฝืนกฎหมายของรัฐต่างชาติฯ (๒) ฝ่าฝืนพันธกรณี/ข้อตกลงฯ การนำเข้า-ส่งออก สัตว์น้ำผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำต้อง ได้รับใบอนุญาต (ม.๔๘) ๓ ห้ามนำเข้า (ม.๕๐) นำมาโดยใช้เรือประมง

  17. รัฐมนตรี พนักงานเจ้าหน้าที่ อธิบดี ผู้มีหน้าที่ควบคุมให้การเป็นไปตามกฎหมาย ๑ ๓ ๒ การปฏิบัติงานนอกเวลา/ นอกสถานที่ราชการ (ม.๖๑) พิจารณาอุทธรณ์ คำสั่ง - พักใช้/เพิกถอน ใบอนุญาต - ระงับ/เพิกถอน การอนุญาต(ม.๖๗) สั่งพักใบอนุญาต ม.๖๕ อำนาจในการปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎหมาย (ม.๖๒) เพิกถอนใบอนุญาต ม.๖๖ บัตรประจำตัว ม.๖๓ เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ (ม.๖๔) การรื้อถอนตาม ม.๖๘-ม.๗๐

  18. โทษ ตาม ม.๗๑,๗๒,๗๔,๗๕,๗๖,๗๗,๗๘,๘๐,๘๒,๘๓ ๑ จำคุกหรือปรับ ความผิดที่มีทั้งโทษจำคุกหรือปรับ แต่กฎหมายกำหนดให้เปรียบเทียบ ปรับได้ ตาม ม.๘๕ ๓ ปรับ ๒ ตาม.๗๓,๗๙,๘๑

  19. บทเฉพาะกาล กำหนดให้พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ หรือคำสั่งที่ออกตาม พ.ร.บ.๒๔๙๐ มีผลใช้บังคับต่อไปเท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายใหม่ จนกว่าจะมีกฎกระทรวง ประกาศหรือ ระเบียบ ตามกฎหมายใหม่ออกใช้บังคับ ส่วนที่รักษาพืชพันธุ์ให้ถือว่าเป็นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำตาม กฎหมายใหม่ (ม.๘๖ ว.๒) อาชญาบัตร/การอนุญาต/ใบอนุญาต ให้มีผลต่อไปจนสิ้นอายุ หรือถูกเพิกถอน (ม.๘๗)

  20. บัญชีอากรและค่าธรรมเนียมบัญชีอากรและค่าธรรมเนียม กำหนดเป็นบัญชีอัตราขั้นสูงให้สอดคล้องระหว่าง เครื่องมือกับการใช้ทรัพยากรประมง โดยใช้กลไก ตาม ม.๕ กำหนดอัตราการจัดเก็บ เงินอากร (ค่าใช้ทรัพยากร) เงิน ค่าธรรมเนียม กำหนดเป็นบัญชีอัตราขั้นสูงตามประเภทใบอนุญาต โดยใช้กลไกตาม ม.๕ กำหนดอัตราการจัดเก็บ (ค่าป่วยการ)

  21. จบบริบูรณ์

More Related