240 likes | 653 Views
เฉลยแบบฝึกหัด. กิจกรรมกลางภาคเรียน. แบบฝึกหัดที่ 5 ( หน้าที่ 36) จงเปลี่ยนประโยคต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปประโยคตรรกศาสตร์. 1. นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เกือบทุกคนแต่งกายสุภาพ 2. ใครได้ชื่อว่าบัณฑิตย่อมดำเนินชีวิตด้วยปัญญา 3. ใช่ว่าที่คนมีเงินทุกคนจะมีความสุขเสมอไป
E N D
เฉลยแบบฝึกหัด กิจกรรมกลางภาคเรียน
แบบฝึกหัดที่ 5 (หน้าที่ 36) จงเปลี่ยนประโยคต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปประโยคตรรกศาสตร์ 1. นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เกือบทุกคนแต่งกายสุภาพ 2. ใครได้ชื่อว่าบัณฑิตย่อมดำเนินชีวิตด้วยปัญญา 3. ใช่ว่าที่คนมีเงินทุกคนจะมีความสุขเสมอไป 4. นิสิตน้อยคนนักที่จะไม่รู้อะไรดีอะไรชั่ว
5. ความชั่วไม่ทำเสียเลยดีกว่า 6. ใช่ว่าจะมีคนที่ไม่เข้าใจเราเอาซะเลย 7. คนชั่วน้อยคนนักที่จะกลับตัวได้ 8. คนทำผิดใช่ว่าจะถูกลงโทษเสียทุกคน 9. คนที่ตั้งใจทำมาหากินจนร่ำรวยไม่ใช่ว่าทุกคนจะทุจริตไม่เป็น 10. คนที่ไม่รักตัวเองไม่อาจจะรักคนอื่นได้
เฉลยแบบฝึกหัดที่5 (หน้าที่ 36) ก.จงเปลี่ยนประโยคต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปประโยคตรรกศาสตร์ 1. นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เกือบทุกคนแต่งกายสุภาพ 2.ใครได้ชื่อว่าบัณฑิตย่อมดำเนินชีวิตด้วยปัญญา 3. ใช่ว่าที่คนมีเงินทุกคนจะมีความสุขเสมอไป 4. นิสิตน้อยคนนักที่จะไม่รู้อะไรดีอะไรชั่ว ประโยค I : Some a are b ประโยค A : All a are b ประโยค O : Some a arenot b ประโยค I : Some a are b
5. ความชั่วไม่ทำเสียเลยดีกว่า 6. ใช่ว่าจะมีคนที่ไม่เข้าใจเราเอาซะเลย 7. คนชั่วน้อยคนนักที่กลับตัวได้ 8. คนทำผิดใช่ว่าจะถูกลงโทษทุกคน 9. คนที่ตั้งใจทำมาหากินจนร่ำรวยไม่ใช่ว่าทุกคนจะทุจริตไม่เป็น 10. คนที่ไม่รักตัวเองไม่อาจรักคนอื่นได้ ประโยค E : All a are not b ประโยค I : Some a are b ประโยค O : Some a arenot b ประโยค O : Some a arenot b ประโยค I : Some a are b ประโยค E : All a arenot b
แนวข้อสอบกลางภาควิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้นแนวข้อสอบกลางภาควิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น วิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น(Ph.๑๒๑) ปรนัย ๙๐ ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือก ๔๐ คะแนน
ความเข้าใจทั่วไป ๒๐ ข้อเช่น ๑.ข้อใดเป็นคำกล่าวที่ไม่ถูกต้อง • 1. การอ้างเหตุผลทุกครั้งต้องมีส่วนที่เป็นข้ออ้างและข้อสรุป • 2. การอ้างเหตุผลแต่ละครั้งส่วนที่เป็นข้อสรุปจะมีเพียงข้อเดียว • 3. การอ้างเหตุผลแต่ละครั้งข้ออ้างต้องมีมากกว่าหนึ่งข้อ • 4. การอ้างเหตุผลแต่ละครั้งต้องแสดงข้ออ้างมาก่อนข้อสรุป
๒.ประโยคเหตุผลในข้อใดที่มาจากธรรมเนียม/ประเพณี๒.ประโยคเหตุผลในข้อใดที่มาจากธรรมเนียม/ประเพณี • 1. สมชายยังไม่บวชสมหญิงเลยไม่ยอมให้เบียด • 2. พ่อเธอกินเหล้าเป็นประจำจึงอาจจะเป็นโรคตับแข็งได้ • 3. ช่วงนี้ไปภาคใต้ระวังอันตรายจากฝนตกถนนลื่น • 4. Summerนี้ไม่รู้จะลงตัวไหนดีจึงตัดสินใจลง Logic ตามเพื่อน
๓.ประโยคเหตุผลในข้อใดที่มาจากกฎเหตุผล/กฎธรรมชาติ ๓.ประโยคเหตุผลในข้อใดที่มาจากกฎเหตุผล/กฎธรรมชาติ 1.ก่อนนอนอย่าลืมห่มผ้านะเดี๋ยวยุง(ที่)กัดขาเธอจะเป็นไข้ 2.เมื่อเพลงชาติดังขึ้นทุกคนจึงยืนแสดงความเคารพ 3.เพราะว่าเธอน่ารักฉันเลยอยากเป็นกิ๊กกับแฟนเธอ 4.ชาติไหน ๆ ก็เป็นงี้แหละ...ไม่มีชาติไหนดีกว่าชาติของตัวเอง
เรื่องกฎแห่งความคิดกฎแห่งเอกลักษณ์/เอกภาพเรื่องกฎแห่งความคิดกฎแห่งเอกลักษณ์/เอกภาพ .คือประโยคตรรกะใจความเดียวแสดงข้อเท็จจริงเป็นลักษณะเอกภาพ ประโยค A = All S are P ประโยค I = Some S are P ประโยค E = All S are not P ประโยค O = Some S are not P
กฎแห่งความไม่ขัดแย้งกันกฎแห่งความไม่ขัดแย้งกัน .คือประโยคตรรกะที่มีใจความมากกว่าหนึ่งซึ่งแสดงข้อเท็จจริงในลักษณะที่ไม่ขัดแย้งกัน เช่น • All S are P and Q/~Q/……. • Some S are P and Q/~Q/……. • All S are not P and Q/~Q/……. • Some S are not P and Q/~Q/……. ประโยคตรรกะที่แสดงข้อเท็จจริงลักษณะขัดแย้งกัน เช่น All S are P and ~P Some S are P and ~P All S are not P and ~P Some S are not P and ~P
กฎแห่งความไม่มีตัวกลางกฎแห่งความไม่มีตัวกลาง คือประโยคตรรกะที่แสดงข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่มีตัวกลางอื่น เช่น All S are P or ~P/…. Some S are P or ~P/…. All S are not P or ~P/…. Some S are not P or ~P/…..
กฎแห่งความเป็นเหตุและผลกฎแห่งความเป็นเหตุและผล • คือประโยคตรรกะที่แสดงความเป็นเหตุผลที่สัมพันธ์กัน • เหตุ ผล • ผล เหตุ -ถ้าฝนตกถนนเปียก วันนี้ฝนตกถนนวิภาวดีจึงเปียก -ถนนเปียกก็เพราะว่าฝนตก นี้แสดงว่าฝนตกละซิ เพราะว่าถนนเปียก -ปวดท้องเพราะอาหารไม่ย่อย --ฯลฯ เชื่อผมเถอะเพราะผมเป็นนายก (ประโยคเหตุผลจากความรู้สึก)
เรื่องของนิยาม ๑๐ ข้อ เช่น ๔.มีคำกล่าวกันว่า "ต้นไม้ใหญ่มักจะมีผีรักษ์ หญิงงามนักก็มักมีชายปอง…" ประโยคดังกล่าวมีการใช้การนิยามแบบใด 1. แบบบรรยาย 2. แบบยกไวพจน์ 3. แบบเปรียบเทียบ 4. แบบชี้แสดง
๕.ข้อใดมีลักษณะนิยามความหมายที่ชัดเจนไม่คลุมเคลือ๕.ข้อใดมีลักษณะนิยามความหมายที่ชัดเจนไม่คลุมเคลือ • ความรักเหมือนจิ๊กซอว์ถ้าไม่ต่อก็ไม่เต็ม • สิบแปดมงกุฎคือคนหลอกลวง • 3. วัตถุประสงค์คือจุดหมายที่เป็นจุดจบ • 4. โหงวเฮ้งแบบจมูกชมพู่ (เน่า)คือ...(ชี้ไปที่จมูกของ... !) ๖. “ปิ่นโตเป็นของรักของกะทิ ขนาดกะทัดรัดน้ำหนักเบา ยายรู้ขนาดกระเพาะของกะทิ ไม่อยากเห็นของเหลือกลับมาบูดเสีย จึงจัดข้าวให้กินอิ่มพอดี ตาเรียกปิ่นโตว่า อาหารมือถือ เพราะสะดวกพกพา” ประโยคที่ขีดเส้นใต้ดังกล่าวของตามีการใช้การนิยามแบบใด 1. แบบบรรยาย 2. แบบยกไวพจน์ 3. แบบเปรียบเทียบ 4. แบบเฉพาะการณ์
เรื่องของเทอม ๑๕ ข้อ ๗. “นิสิตทุกคนเป็นผู้ที่คิดว่าตนเองมีเหตุผลแต่มักจะไม่ค่อยใช้เหตุผลฉะนั้น เทอมเอกของการอ้างเหตุผลนี้คือข้อใด 1. นิสิต 2. ผู้ที่คิดว่าตนเองมีเหตุผล 3.คนที่ใช้เหตุผล 4. คนที่ไม่ใช้เหตุผล ทุกคนก็ไม่ควรเป็นผู้ที่คิดว่าตนเองมีเหตุผล” ผู้ที่คิดว่าตนเองมีเหตุผล 3. คนที่ใช้เหตุผล ๘.เทอมโท ของการอ้างเหตุผลนี้คือข้อใด 1. นิสิต ๙.เทอมกลาง ของการอ้างเหตุผลนี้คือข้อใด
ประโยคตรรกศาสตร์ ๓๐ ข้อ ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้เขียนเป็นสัญลักษณ์แทนข้อความ 1. All S are P. 2. All S are not P. 3. Some S are P. 4. Some S are not P. ๑๐. คนที่เข้าใจฉันก็มีแต่เธอ ๆ เท่านั้น ๑๑. นักการเมืองไทยส่วนใหญ่ขี้โกง ๑๒. มิใช่ว่าทุกคนจะเห็นด้วยกับคุณนะ ๑๓. ไม่มีสัจจะในหมู่นักการเมือง 1. All S are P. 3. Some S are P. 4. Some S are not P. 2. All S are not P.
แต่เรามักจะไม่ ๑๔.“เราทุกคนเป็นผู้ที่คิดว่าตนเองมีเหตุผลแต่เรามักจะไม่ค่อยใช้เหตุผลกัน ฉะนั้น ผู้นั้นก็ไม่ควรเป็นผู้ที่คิดว่าตนเองมีเหตุผล”ประโยคตรรกะ ของการอ้างเหตุผลชุดนี้ควรจะเป็นข้อใด 1. A I O 2. I O I 3. A IE 4. A O E ๑๕.ข้อใดต่อไปนี้เมื่อเขียนเป็นประโยคตรรกวิทยาแล้วจะได้ประโยค I • คนพูดโกหกได้ที่จะไม่ทำความชั่วอื่นเป็นไม่มี • คนที่เชื่อว่าเงินทำได้ทุกอย่างเท่านั้นแหละที่จะทำทุกอย่างเพื่อเงิน • ใครก็ตามเลือกตอบข้อนี้ต้องคิดใหม่แล้วละ • 4. คนที่รู้จักมองโลกในแง่ดีมักจะเป็นคนที่มีความสุข
ตัวเลือก วงกลมออยเลอร์ ต่อไปนี้เขียนแทนข้อความใด • 1. S P 2. S P • 3. S # P 4. S # P ๑๖. ใช่ว่าคนส่วนใหญ่จะดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ๑๗. คนที่ยึดถือปรัชญาทุนนิยมล้วนมีชีวิตแบบบริโภคนิยม ๑๘. ที่ใดมีความปรารถนามากที่นั้นย่อมไม่มีสุขมากตามตัว 4. 1. 2.
Syllogism ๑๐ ข้อจงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ พิจารณาตอบการอ้างเหตุผล 1. สมเหตุสมผลแล้ว(มีข้อสรุปเดียว) 2. เทอมกลางไม่กระจาย (ข้ออ้างไม่ครอบคลุม) 3. กระจายในข้อสรุป ในข้ออ้างไม่กระจาย (สรุปเกินข้ออ้าง) 4. ข้ออ้างปฏิเสธทั้งสองข้อ ไม่อาจมีข้อสรุปได้ (ข้ออ้างไม่สัมพันธ์กัน) 5. ข้ออ้างปฏิเสธ แต่ข้อสรุปยืนยัน (การอ้างเหตุผลแบบขัดแย้ง) ๑๙. การลงทุนทุกอย่างย่อมมีการหวังผลตอบแทน นักการเมืองหลายคนลงทุน(ทางการเมือง) นักการเมืองพวกนี้ จึงย่อมหวังผลตอบแทนซิ (นักการเมือง= A, การลงทุน = B, การหวังผลตอบแทน= C) นักการเมืองพวกนี้ All b are c, Some a are b ∴ All a are c All a ตอบ3. กระจายในข้อสรุป ในข้ออ้างไม่กระจาย (สรุปเกินข้ออ้าง)
๒๐.(จากแบบฝึกหัด) คนรู้จักตัวเองทุกคนจะไม่ใช้จ่ายเกินตัวและไม่ฟุ่มเฟือย ฉะนั้น จะมีเพียงคนฟุ่มเฟือยเท่านั้นที่ใช้จ่ายเกินตัว (คนรู้จักตัวเอง = A, คนใช้จ่ายเกินตัว = B, คนฟุ่มเฟือย = C) C3 All a arenot b C4 b C2 a All a arenot c ∴All b are c C1 C1 = ∴All b arenot c C2 = ∴Some b are c /Some a arenot c C3 = ∴All c are b C4 = ∴All b are c
จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้พิจารณาการอ้างเหตุผล (จำนวน ๕ ข้อ) C๔ A • BA C C2 • AB C A C1 C2 B • Ac1B C2 ๑. ๒. B C1 C3 ๔. ๓ ๔. ๕. C3 รวมปรนัย ๙๐ ข้อ ๔๐ คะแนน ๒๑.ขึ้นชื่อว่าพ่อค้าละก็ย่อมหากำไรวันยังค่ำ นักการเมืองบางคนไม่ใช่พ่อค้า จึงคาดว่าไม่น่าจะมาแสวงหากำไร (พ่อค้า=A,หากำไร = B,นักการเมือง= C) All a are b, Some c arenot a ∴ Some c arenot b All a are b, Some c arenot a
จงสมหวังในมโนรถ • เวลา 10.30.-12.30 น. • หมู่เรียน 2,100 • สถานที่สอบ ศร.3 • ห้อง ..... • ห้อง ..... • ห้อง ..... • ขอให้ทุกคนจงใช้ความเพียรอันบริสุทธิ์