1 / 5

การสร้างโอกาสทางอาชีพ ในจังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมไม้และประดิษฐ์กรรมจากไม้  อุตสาหกรรม เกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพ ในจังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. ผู้ใช้. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.

brett-case
Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพ ในจังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมไม้และประดิษฐ์กรรมจากไม้  อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพ ในจังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่านจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ ผู้ใช้ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดเชียงราย สถานศึกษา สังกัด สพฐ 697 แห่ง (สปช. 653 แห่ง และ สศ.44 แห่ง) สังกัด เอกชน 131 แห่ง สังกัด กศน. 19 แห่ง สังกัด สกอ. 4 แห่ง สังกัด สอศ. 7 แห่ง 1. วท.เชียงราย 2. วท.กภ. เชียงราย 3. วอศ.เชียงราย 4. วษท.เชียงราย 5. วก.เชียงราย 6. วก.เทิง 7. วก.เวียงเชียงรุ้ง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือและและทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับประเทศ • สหภาพพม่าและลาว • ทิศตะวันตกมีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจสำคัญของ • ประเทศ คือ จังหวัดเชียงใหม่ • เป็นจังหวัดที่อยู่เหนือสุดของประเทศ และเป็นประตูไปสู่ • ภูมิภาค เขตสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ (เป็นเมืองหน้าด่าน) • เป็นศูนย์กลางพัฒนาสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดนไทย-พม่า แม่สาย ด่าน ตม. • เชียงแสน และด่านตม.เชียงของ • เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในเขตภาคเหนือตอนบน • เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมล้านนา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน35,149 บาท ต่อปี (อันดับ 16 • ของภาค อันดับ 61 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร มีมูลค่า • การผลิต 28.89% รองลงมาสาขาการขายส่ง การขายปลีก • 20.72% • พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด • ข้าวนาปี ลิ้นจี่ ลำไย หอมแดง และถั่วเหลือง • ประชากร • จำนวนประชากร 1,225,058 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 80,329 คน หรือ 10.58 % • จำนวนผู้ว่างงาน 5,706คน เป็นชาย 2,068 คน เป็นหญิง 3,638 คน อัตราการว่างงาน 0.4 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 285,786 คนหรือ 40.79%ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานร้านค้าและตลาด 113,085 คน หรือ 16.14% และอาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 94,977 คน หรือ 13.56% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอพื้นเมือง 2) ส่งเสริมการท่องเที่ยวและบริการ Home Stay • 3) การผลิตปุ๋ยอินทรีย์เคมีคุณภาพสูง 4) อาชีพเพาะเห็ดฟางจากโรงเรียน • 5) การทำไม้กวาด 6) ประกอบคอมพิวเตอร์และติดตั้งระบบเครือข่าย • 7) ผลิตภัณฑ์จากหวาย 8) โรงเรือนเพาะเชื้อเห็ด 9) แปรรูปอาหาร • 10) ส่งเสริมการทำน้ำพริกลาบและขนมกรอบ (ที่มา อศจ.เชียงราย) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 253,955 คน หรือ 36.25 %ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 237,544 คน หรือ 33.91% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 114,945 คน หรือ 16.41% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น - ต่ำกว่าประถมศึกษา 447,030 คน หรือ 63.81 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 13,184 คน หรือ 1.88 % สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 100 แห่ง มีการจ้างงาน 3,239 คน รองลงมาอุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 217 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 3,131 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  3. จังหวัดพะเยา สถานศึกษา สังกัด สพฐ 309 แห่ง (สปช. 289 แห่ง และ สศ.20 แห่ง) สังกัด เอกชน 59 แห่ง สังกัด กศน. 8 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วท.พะเยา 2. วษท. พะเยา 3. วก.เชียงคำ 4. วก.ดอกคำใต้ • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับประเทศฯลาว • ทิศเหนือ มีเขตติดต่อกับจังหวัดพะเยา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 37,315 บาท ต่อปี (อันดับ 14 • ของภาค อันดับ 57 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 27.8% รองลงมาสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 19.36% • อาชีพหลักที่สำคัญของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ การทำนาข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • ถั่วเขียวผิวมัน หอมแดง กระเทียม ขิง ยาสูบ ลิ้นจี่ • ประชากร • จำนวนประชากร 486,889 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 34,002 คน หรือ 9.99 % • จำนวนผู้ว่างงาน 2,803คน เป็นชาย 1,803 คน เป็นหญิง 1,000 คน อัตราการว่างงาน • 0.6 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 141,723 คนหรือ 50.67%ลำดับรองลงมาคืออาชีพพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 39,261 คน หรือ • 14.04% และ ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 31,706 คน • หรือ 11.34 % และพนักงานบริการ พนักงานร้านค้าและตลาด 29,267 คน หรือ 10.46% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ซ่อมรถจักรยานยนต์ 2) การแปรรูปสินค้าและการถนอมอาหาร 3) จักสาน • 4) ตัดเย็บเสื้อผ้า 5) ทอผ้าพื้นเมือง 6) การทำน้ำอ้อย 7) การทำเสื่อกก • 8) การทำเครื่องปั้นดินเผา 9) การเลี้ยงไหม 10) งานเชื่อมเหล็กดัด (ที่มา อศจ.พะเยา) • ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป เป็นทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 104,988 คนหรือ 37.54% ลำดับรองลงมาลูกจ้างเอกชน 78,566 คน หรือ 28.09 % ช่วยธุรกิจครัวเรือน 71,422 คน หรือ 25.54 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 19,731 คน หรือ 7.05% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 206,674 คน หรือ 73.89 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 4,635 คน หรือ 1.66% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 81 แห่ง มีการจ้างงาน 1,832 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  4. จังหวัดแพร่ สถานศึกษา สังกัด สพฐ 311 แห่ง (สปช. 291 แห่ง และ สศ. 20 แห่ง) สังกัด เอกชน 46 แห่ง สังกัด กศน. 8 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1. วท.แพร่ 2. วอศ.แพร่ 3. วษท.แพร่ 4. วช.แพร่ 5. วก.สอง 6. วก.ลอง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • มีพื้นทีป่าไม้ ร้อยละ 60.58 ของเนื้อที่ของทั้งหมด • ปัจจุบันรัฐบาลมีมาตรการปิดป่าเป็นการถาวรจึงส่ง • เสริมให้ราษฎรหันมาปลูกป่าทดแทนป่าธรรมชาติขึ้น • ส่วนใหญ่เน้นในด้านการปลูกป่าสักเป็นพืชเศรษฐกิจ • ทดแทน • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 43,609 บาท ต่อปี (อันดับ 11 • ของภาค อันดับ 52 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 27.8% รองลงมาสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 19.36% • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ปลูกข้าวเหนียว ข้าวโพด • เลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ยาสูบ ฝ้าย • ประชากร • จำนวนประชากร 471,447 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 32,771 คน หรือ 10.04 % • จำนวนผู้ว่างงาน เป็นชายทั้งหมด 688 คน อัตราการว่างงาน 0.2 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 84,130 คนหรือ 31.71% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 59,843 คน หรือ 22.56% ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 37,322 คน หรือ 14.07% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากฝุ่นไม้ 2) การประดิษฐ์ดอกไม้จากดินไทย • 3) การผลิตข้าวกล้อง 4) การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 5) การปลูกพืชผลการเกษตรฤดูแล้ง • 6) การแปรรูปเครื่องดื่มสมุนไพร 7) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากพริก • 8) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์ 9) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสุกร • 10) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว (ข้าวแต๋น) (ที่มา อศจ.แพร่) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 92,534 คน หรือ 34.88% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 84,871 คน หรือ 31.99% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 52,967 คน 19.96% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 16,480 คน หรือ 6.21% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- • ต่ำกว่าประถมศึกษา186,232 คน หรือ 70.2% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 6,850 คน หรือ 2.58% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไม้และประดิษฐ์กรรมจากไม้ • มีสถานประกอบการ 361 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 4,717 คน รองลงมาอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน มีสถานประกอบการ 203 แห่ง มีการจ้างงาน 2,269 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  5. จังหวัดน่าน สถานศึกษา สังกัด สพฐ 425 แห่ง (สปช. 393 แห่ง และ สศ.32 แห่ง) สังกัด เอกชน 37 แห่ง สังกัด กศน. 14 แห่ง สังกัด สกอ. 1 แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วท.น่าน 2. วช. น่าน 3. วก.ปัว 4. วก.เวียงสา • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือและและทิศตะวันออกมีเขตติดต่อกับ • ประเทศฯลาว • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดนไทย-ลาวห้วยโก๋น • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 37,666 บาท ต่อปี (อันดับ 15 • ของภาค อันดับ 56 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 28.22% รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีกฯ 14.58% • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ยาสูบ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • ถั่วเขียว ถั่วลิสง มะม่วง ลำไย ฯลฯ และที่มีชื่อเสียง • คือ ส้มสีทอง • อุตสาหกรรมครัวเรือน ทอผ้าพื้นเมือง และเครื่องเงิน • ประชากร • จำนวนประชากร 478,080 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 36,945 คน หรือ 11.39 % • จำนวนผู้ว่างงาน 2,435คน เป็นชาย 1,852 คน เป็นหญิง 583 คน อัตราการว่างงาน 0.5 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 174,297 คนหรือ 63.32% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) กลุ่มปลูกพืชปลอดภัย 2) กลุ่มถนอมอาหารและการบรรจุภัณฑ์ • 3) กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้จากกระดาษสา 4) กลุ่มแปรรูปอาหารจากปลา • 5) กลุ่มพัฒนาอาชีพบ้านบุญนาค 6) ทำไม้กวาดดอกหญ้า 7) การทอผ้าไทลื้อ • 8) การเย็บผ้า 9) การเพาะเห็ดนางฟ้า 10) อาชีพการตีมีด • 11) อาชีพการทำสาหร่ายอบแห้ง (โกยี) (ที่มา อศจ.น่าน) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 111,716 คน หรือ 40.59 %ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 93,108 คน หรือ 33.83 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 54,808 คน หรือ 19.91%โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- • ต่ำกว่าประถมศึกษา 176,662 คน หรือ 64.18 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 4,027 คน หรือ 1.46% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 128 แห่ง มีการจ้างงาน 684 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

More Related