1 / 20

Strategic Partnership for Sister Cities : Thailand and Myanmar Herbal Products

โครงการหุ้นส่วนยุทธศาสตร์การค้าและประชารัฐเมืองคู่มิตรเพื่อธุรกิจสู่สากล กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน(Strategic Partnership for Sister Cities)

Download Presentation

Strategic Partnership for Sister Cities : Thailand and Myanmar Herbal Products

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการหุ้นส่วนยุทธศาสตร์การค้าและประชารัฐเมืองคู่มิตรโครงการหุ้นส่วนยุทธศาสตร์การค้าและประชารัฐเมืองคู่มิตร เพื่อธุรกิจสู่สากล (Strategic Partnership for Sister Cities) การประชุมประชารัฐ ครั้งที่ 1 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 (เชียงราย น่าน พะเยา แพร่) และเชียงใหม่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช ผอ.ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย และหัวหน้าโครงการฯ วันที่ 15 -16 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมแม่โขง เดลต้า บูติคโฮเทล จังหวัดเชียงราย

  2. หลักการและเหตุผล

  3. วัตถุประสงค์

  4. กลุ่มเป้าหมาย ธุรกิจเป้าหมาย เครือข่ายประชารัฐ พื้นที่ดำเนินการ ธุรกิจเป้าหมาย: สินค้าเกษตร/เกษตรแปรรูป อาทิ ผลไม้ เส้นไหม สมุนไพร ปศุสัตว์ และสินค้าหัตถกรรม (OTOP/OVOP) จากธุรกิจขนาดเล็กและผู้ประกอบการชุมชนในกลุ่มจังหวัดนำร่อง และภาคบริการที่เกี่ยวข้อง พื้นที่ดำเนินการ: กลุ่มจังหวัดใน 4 ภาค ได้แก่ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และ ภาคตะวันตก/ใต้ และประเทศเพื่อนบ้านใน CLMV ประกอบด้วยภาครัฐ ภาคเอกชน วิสาหกิจเพื่อสังคม และสถาบันการศึกษา รวมทั้งภาคีสนับสนุนอื่นๆ ทั้งที่อยู่ในกลุ่มจังหวัดของไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: เกษตรกร สถาบันเกษตรกร ผู้ประกอบการค้า และประชาชนทั่วไป

  5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  6. บ่งชี้กลุ่มจังหวัดเป้าหมายและสินค้าเป้าหมายบ่งชี้กลุ่มจังหวัดเป้าหมายและสินค้าเป้าหมาย

  7. บ่งชี้กลุ่มจังหวัดเป้าหมายและสินค้าเป้าหมาย จากการสัมภาษณ์เชิงลึก และประชุมระดมความคิดเห็น ณ จังหวัดเชียงราย

  8. การประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมต่อห่วงโซ่มูลค่าสินค้าศักยภาพการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมต่อห่วงโซ่มูลค่าสินค้าศักยภาพ ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 และศึกษาดูงานไทย-เมียนมา

  9. การประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมต่อห่วงโซ่มูลค่าสินค้าศักยภาพการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมต่อห่วงโซ่มูลค่าสินค้าศักยภาพ ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2

  10. ศึกษาดูงานThai Herb Shop

  11. ศึกษาดูงาน โครงการเปลี่ยนถ่ายรูปแบบขนส่งสินค้าเชียงของ

  12. ศึกษาดูงาน วิสาหกิจชุมชนบ้านครึ่งใต้

  13. ศึกษาดูงาน หมู่บ้านสันบุญเรือง สวนผักเชียงดา

  14. ศึกษาดูงาน ตลาดท่าล้อ

  15. รูปแบบการเชื่อมโยงห่วงโซ่การผลิตไพลไทย-ทานาคาเมียนมารูปแบบการเชื่อมโยงห่วงโซ่การผลิตไพลไทย-ทานาคาเมียนมา รวมทั้งประเทศ (ปี 2560) 146.18 ล้านบาท 39.76 ล้านบาท 146.18 ล้านบาท 58.47 ล้านบาท ตลาดต่างประเทศ - เมียนมา - จีน วัตถุดิบทานาคาจากเมียนมา • ตลาดในประเทศ • ในพื้นที่ • จังหวัดอื่นๆ - Cross Border Ecommerce - Exporter น้ำมันนวดจากไพล+ทานาคา • มาตรฐานต่างๆ • อย. • GMP • โลจิสติกส์ • ชิ้ปปิ้ง • ศุลกากร • มาตรฐานต่างๆ • GAP • USDA • โลจิสติกส์ • ชิปปิ้ง • ศุลกากร ด่านแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก ผลิตภัณฑ์ไพล+ทานาคา ต้นน้ำ (วัตถุดิบ) ปลายน้ำ (ตลาด) กลางน้ำ (แปรรูป) ท่องเที่ยวและบริการ วิจัย นวัตกรรม สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ • ทัวร์สมุนไพร 5 เชียง • เส้นทางท่องเที่ยวเชิงสมุนไพร 2 ประเทศ • บริการสปาที่มีเอกลักษณ์ 2 แผ่นดิน • เช่น สปาล้านนา/สปาเมียนมา (ไทใหญ่) • นักท่องเที่ยว • ไทย • เมียนมา • จีน • ต่างชาติ วัตถุดิบไพลจากไทย • ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • ผู้ประกอบการสปาไทย/เมียนมา/จีน • ผู้ส่งออก (แม่โขงเดลต้า) • โลจิสติกส์ (Far-E ม.เชียงใหม่) • Cross Border Ecommerce • วิสาหกิจชุมชน • แพทย์แผนไทย • สาธารณสุขจังหวัด • อุตสาหกรรมจังหวัด • กระทรวงมหาดไทย (นายอำเภอเชียงของและแม่สาย) • ศุลกากร • พาณิชย์จังหวัด • กระทรวงวัฒนธรรม • การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย • ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • เกษตรกรไทยและเมียนมา • วิสาหกิจชุมชน • เกษตรจังหวัด • สาธารณสุขจังหวัด • ศุลกากร • โลจิสติกส์เมียนมา (บ.รีเฟรกซ์) • ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • ม.แม่ฟ้าหลวง (วิจัยสินค้าและให้ความรู้ในการบริการในการนวดแผนไทย) • รพ.พญาเม็งราย (การสกัดสารสำคัญ) • วิสาหกิจชุมชน • แพทย์แผนไทย • สาธารณสุขจังหวัด • อุตสาหกรรมจังหวัด • รพ.พญาเม็งราย (การสกัดสารสำคัญ)

  16. ร่างกรอบความร่วมมือหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ร่างกรอบความร่วมมือหุ้นส่วนยุทธศาสตร์

  17. วิสัยทัศน์: สมุนไพรไทย-เมียนมามีมูลค่าเพิ่มจากความร่วมมือและนวัตกรรมที่ร่วมกันขับเคลื่อนเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ พันธกิจ พันธกิจ 1 บริหารจัดการและส่งเสริมการผลิตสมุนไพรให้มีคุณภาพมาตรฐาน พันธกิจ 2 พัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรเพื่อสร้างอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ของสองประเทศ พันธกิจ 3 ส่งเสริมสนับสนุนผลิตภัณฑ์สมุนไพรเข้าสู่ตลาดในสองประเทศและต่างประเทศ เป้าหมาย เป้าประสงค์ 1 1. เกษตรกรทั้งสองประเทศมีรายได้เพิ่มจากการขายสมุนไพร 2. นำสมุนไพรที่ได้คุณภาพมาตรฐานไปต่อยอดเพิ่มมูลค่า 3. เกิดการรวมตัวที่เข้มแข็งขึ้นระหว่างกลุ่มเกษตรกรทั้งสองประเทศ เป้าประสงค์ 3 เพิ่มรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรในสองประเทศและต่างประเทศ เพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรในสองประเทศและต่างประเทศ เป้าประสงค์ 2 ส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและเกิดการยอมรับในระดับสากล ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการวัตถุดิบสมุนไพร ยุทธศาสตร์ด้านการแปรรูปสมุนไพร ยุทธศาสตร์ด้านการตลาดสมุนไพร กลยุทธ์ • บูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมและสถาบันการศึกษา เพื่อผลักดันการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากสมุนไพรในเชิงพาณิชย์ • สนับสนุนงานวิจัยและนวัตกรรมของสมุนไพรเพื่อนำมาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมอื่นๆ • สนับสนุนให้เกิดโครงการนำร่องโรงงานแปรรูปสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน GMP/PICS ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยรวมทั้งการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทั้งสองประเทศ • ตั้งศูนย์ประสานงานเครือข่ายการวิจัย พัฒนาสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง • ออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่บ่งบอกถึงความเป็นผลิตภัณฑ์สองประเทศ • สร้างเครือข่ายระหว่าง SMEs ไทย กับ SMEs เมียนมา • นำผลิตภัณฑ์แปรรูปสมุนไพร เข้าสู่ตลาดที่มีศักยภาพในสองประเทศและต่างประเทศ • ประชาสัมพันธ์ให้เกิดการยอมรับผลิตภัณฑ์แปรรูปสมุนไพร ในสองประเทศและต่างประเทศ • ผลักดันโครงการท่องเที่ยวเชิงสมุนไพรตามวิถีถิ่นสองประเทศ • พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการตลาดสมุนไพรทั้งสองประเทศ • บริหารจัดการคลังสินค้าและโลจิสติกส์เพื่อส่งออกผลิตภัณฑ์สมุนไพร • คัดเลือก ขยายพันธุ์ และส่งเสริมสมุนไพรให้เหมาะสมกับพื้นที่ • บริหารจัดการการนำเข้าสมุนไพรเมียนมาให้สอดคล้องกับกฎระเบียบของไทย • บริหารจัดการคลังสินค้าและโลจิสติกส์เพื่อนำเข้าสมุนไพรจากแหล่งผลิตในเมียนมา • ร่วมกันพัฒนาและสร้างมาตรฐานวัตถุดิบสมุนไพรและบุคลากรของทั้งสองประเทศ • สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนไทยและเมียนมาในการจัดหาวัตถุดิบสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม • ผลักดันความร่วมมือในการผลิตสมุนไพรตามความต้องการของตลาด ร่างกรอบความร่วมมือหุ้นส่วนยุทธศาสตร์การค้าผลิตภัณฑ์แปรรูปสมุนไพรในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 +เชียงใหม่ และเมียนมา (กรณี: ไพล-ทานาคา)

  18. แผนกิจกรรมระยะ 3 เดือน

  19. การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปสมุนไพรทั้งสองประเทศ (กรณี: ไพล-ทานาคา)

  20. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม...ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม... ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โทร : 02-697-6348-9 www.citsonline.utcc.ac.th Center for International Trade Studies University of the Thai Chamber of Commerce

More Related