341 likes | 1k Views
การธนาคาร. ประเภทธนาคาร. 1. ธนาคาร กลาง คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ควบคุมนโยบายและปริมาณเงินภายในประเทศ เป็นนายธนาคารกลางของธนาคารพาณิชย์ ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ รักษาทุนสำรองระหว่างประเทศ และออก พันธบัตร. เป็นการศึกษาบทบาทของธนาคาร.
E N D
การธนาคาร ประเภทธนาคาร 1. ธนาคารกลางคือ ธนาคารแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ควบคุมนโยบายและปริมาณเงินภายในประเทศ เป็นนายธนาคารกลางของธนาคารพาณิชย์ ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ รักษาทุนสำรองระหว่างประเทศ และออกพันธบัตร เป็นการศึกษาบทบาทของธนาคาร
2. ธนาคารพาณิชย์ ทำหน้าที่รับฝากเงิน ให้บริการ โอนเงิน ให้เช่าตู้นิรภัย 3.ธนาคารพิเศษ เช่น - ธนาคารออมสิน เช่น ส่งเสริมการออมทรัพย์ รับฝาก เงินจากประชาชน ให้รัฐกู้ไปใช้ - ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ส่งเสริมการปลูกสร้างที่อยู่ อาศัย
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 1)บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นสถาบันการเงินเอกชน มีฐานะเป็นบริษัทจำกัด โดย ธ.พาณิชย์และสถาบันการเงินอื่นๆถือหุ้น จุดประสงค์เพื่อส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาอุตสาหกรรมประเทศไทย โดยเอกชนกู้ยืมเงินไปลงทุน ผู้ดูแล กระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม - ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ส่งเสริม การพัฒนาการเกษตร ให้เกษตรกู้ยืม
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 2) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นสถาบันการเงินทำหน้าที่ซื้อหุ้น ขายหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ์ และหุ้นกู้ มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ 1.หุ้นสามัญ เป็นตราสารที่แสดงความเป็นเจ้าของเวลาประชุมหรือหารือเรื่องต่างๆคุณจะมีสิทออกปากออกเสียง ตามที่กำหนดไว้ว่าต้องถือกี่หุ้น2.หุ้นบุริมสิทธิ์ คล้ายหุ้นสามัญ แต่ ไม่มีสิทธิออกปากเสียง และ สภาพคล่องตัวต่ำ 3.หุ้นกู้ มันคือตราสารหนี้ที่ออกโดยเอกชน เป็นตราสารแสดงความเป็นเจ้าหนี้โดยมีดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทน ผู้ดูแลกระทรวงการคลัง
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 3) บริษัทเงินทุนเป็นสถาบันการเงินเอกชน มีจุดมุ่งหมายเพื่อระดมเงินฝากจากประชาชน โดยขายตั๋วสัญญาไม่ต่ำกว่า 10,000 บาท แล้วนำเงินไปให้เอกชนกู้ยืมลงทุน โดยดอกเบี้ยสูงกว่าธนาคารทั่วไป ลักษณะคล้าย ธ.พาณิชย์ แต่กฎหมายห้ามมิให้ซื้อขายแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและออกหนังสือค้ำประกัน ผู้ดูแล กระทรวงพาณิชย์
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 4) บริษัทหลักทรัพย์ เป็นสถาบันการเงินเอกชนทำหน้าที่เป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ได้แก่หุ้น พันธบัตร ตั๋วเงิน ผู้ดูแล ธนาคารแห่งประเทศไทย
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 5) บริษัทเครดิตฟองซิเอร์(Credit Foncier) เป็นสถาบันการเงินเอกชนทำหน้าที่ระดมเงินฝากจากประชาชนและนำไปให้สมาชิกกู้ยืมในการซื้อที่ดินหรือปลูกอาคาร ที่อยู่อาศัย ผู้ดูแล ธนาคารแห่งประเทศไทย
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 6) บริษัทประกันภัย(Insurance) เป็นสถาบันการเงินเอกชน ทำหน้าที่รวบรวมเงินทุน โดยมีผลตอบแทนให้แก่ผู้เอาประกันตามสัญญาที่ระบุไว้ ประเภทประกันภัย คือประกันชีวิต และประกันวินาศภัย สัญญาประกันภัย เรียกว่า กรมธรรฒ์ประกันภัย ผู้ดูแล ธนาคารแห่งประเทศไทย
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 7) สหกรณ์การเกษตร เป็นสถาบันการเงินการเงินในท้องถิ่นจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพการเกษตร เช่นจัดหาทุนและรับซื้อผลผลิตราคายุติธรรม ผู้ดูแล กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 8) สหกรณ์ออมทรัพย์ เป็นสถาบันการเงินเอกชนหรือรัฐ จุดมุ่งหมายรับฝากเงินสมาชิกและให้กู้ยืม โดยคิดอัตราดอกเบี้ยต่ำและนำผลกำไรมาแบ่งปันสมาชิกตามมูลค่าหุ้นที่ถือและมูลค่าเงินที่กู้ไป ผู้ดูแล กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงศึกษาธิการ
4. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เช่น 9) โรงรับจำนำ เป็นสถาบันการเงินของรัฐ (สถานธนานุเคราะห์ หรือสถาน ธนานุบาล) หรือเอกชน จุดมุ่งหมายให้ประชาชนกู้ยืมเงินโดยนำสิ่งของเครื่องใช้มาจำนำ ผู้ดูแล กระทรวงมหาดไทย