1 / 20

วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์

วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์. ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1.กำหนดหัวเรื่อง 2.รวบรวมข้อมูล 3.ประเมินคุณค่าของหลักฐาน 4.การตีความหลักฐาน 5.วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล. ขั้นตอนที่ 1 กำหนดหัวเรื่อง เรื่อง วังเก่าวังใหม่. ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูล.

Download Presentation

วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์

  2. ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้1.กำหนดหัวเรื่อง2.รวบรวมข้อมูล3.ประเมินคุณค่าของหลักฐาน4.การตีความหลักฐาน5.วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

  3. ขั้นตอนที่ 1กำหนดหัวเรื่องเรื่อง วังเก่าวังใหม่

  4. ขั้นตอนที่ 2รวบรวมข้อมูล

  5. 1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร - หนังสือพัทลุงศึกษา (หน้า 379-382) โดย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พัทลุง2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร - พระครูกิตติญาณโกวิท อายุ 87 ปี เจ้าอาวาสวัดวัง ตำบลลำปำ อำเภอ เมือง จังหวัดพัทลุง

  6. ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน

  7. จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร วังเก่า-วังใหม่ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 ตำบลลำปำ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง วังเก่า ผู้สร้างและเป็นเจ้าของวัง คือ พระยาวรวุฒิไวยฯ (น้อย จันทโรจวงศ์) วังใหม่ ผู้สร้างและเป็นเจ้าของวัง คือ พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์)

  8. จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากคำบอกเล่าของ พระครูกิตติญาณโกวิท เจ้าอาวาสวัดวัง ว่า “วังเก่า-วังใหม่ เป็นวังเจ้าเมืองเดิม ที่สร้างขึ้นเพื่อว่าราชการเมืองและเป็นที่พำนักของเจ้าเมือง ซึ่งสร้างอยู่ติดกับคลองลำปำ ซึ่งวัดวังก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับวังเก่า-วังใหม่แห่งนี้ด้วยคือ เป็นสถานที่เก็บบรรจุอัฐิของเจ้าเมืองและบรรดาพระญาติ ”

  9. พระยาวรวุฒิไวยฯ (น้อย จันทโรจวงศ์)พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์)

  10. ขั้นตอนที่ 4ตีความหลักฐาน

  11. วังเก่าพระยาอภัยบริรักษ์ (น้อย จันทโรจวงศ์) หรือ พระยาวรวุฒิไวยฯ (น้อย จันทโรจวงศ์)เจ้าเมืองพัทลุงระหว่างปี พ.ศ. 2412-2431 ได้สร้างวังเก่าเพื่อใช้เป็นที่พำนักและว่าราชการเมือง

  12. วังใหม่ วังใหม่เป็นจวนของพระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์) เป็นผู้สร้างวังใหม่ขึ้นด้านหลังวังเก่า ทางทิศใต้ติดกับคลองลำปำ ในปี พ.ศ. 2432

  13. ขั้นตอนที่ 5วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

  14. วังเก่า ผู้สร้างและเป็นเจ้าของวัง คือ พระยาอภัย-บริรักษ์ (น้อย จันทโรจวงศ์) เจ้าเมืองพัทลุงระหว่างปี พ.ศ. 2412-2431 สร้างไว้เป็นที่ว่าราชการเมือง หลังจากท่านดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองพัทลุงอยู่ 19 ปี จึงกราบบังคมทูลลาออกจากราชการ ด้วยชราภาพและทุพพลภาพจักษุมืดมัวแลไม่เห็นทั้งสองข้าง

  15. ร.5 จึงพระราชทานราชทินนามให้เป็น พระยาวรวุฒิไวย วัฒลุงควิสัย อิศรศักดิ์พิทักษ์ราชกิจ นริศราชภักดี อภัยพิริยพาหะ และโปรดเกล้าฯให้หลวงจักรานุชิต (เนตร จันทโรจวงศ์) บุตรชายคนโตซึ่งเป็นผู้ช่วยราชการเมืองพัทลุงอยู่นั้นเป็นพระยาอภัยบริรักษ์ฯ เจ้าเมืองพัทลุงคนต่อมา

  16. วังใหม่พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์) เป็นผู้สร้างวังใหม่ขึ้นใน พ.ศ.2432 ด้านหลังวังเก่าทางทิศใต้ติดกับคลองลำปำ จึงมีชาวบ้านเรียกว่า“วังใหม่ชายคลอง”หรือ“วังชายคลอง” แต่นิยมเรียก“ วังใหม่”

  17. วังใหม่ หรือจวนใหม่ เป็นจวนของพระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์) ผู้ว่าราชการเมืองพัทลุงคนสุดท้าย ก่อนการปฎิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5

  18. วังเก่า หรือ จวนเก่า

  19. วังใหม่ หรือ จวนใหม่

  20. สมาชิกในกลุ่ม1.นางสาวธัตติมา สงด้วง เลขที่ 122.นางสาวนุชรี ด้วงคง เลขที่ 133.นางสาวปาริฉัตร สีไข่ เลขที่ 264.นางสาวพรพิมล เหลือจันทร์ เลขที่ 275.นางสาววิทยาภรณ์ รัตนพงค์ เลขที่ 286.นางสาวสุพัตรา แป้นด้วง เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6

More Related