110 likes | 296 Views
การประชุม เรื่อง “การบริหารความเสี่ยงและ. การวางระบบการควบคุมภายใน”. R. I. S. K. แนวคิดการบริหารความเสี่ยง. โดย ผู้ช่วยอธิการบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ อัครประถมพงศ์). วันพุธที่ 1 กันยายน 2547. K. I. R. S. คำนิยาม : ความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง.
E N D
การประชุม เรื่อง “การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน” R I S K แนวคิดการบริหารความเสี่ยง โดย ผู้ช่วยอธิการบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ อัครประถมพงศ์) วันพุธที่ 1 กันยายน 2547
K I R S คำนิยาม : ความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่ง ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่สำเร็จตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด (จากเอกสารประกอบการประชุมคณบดี ครั้งที่ 15/2547 วันพุธที่ 16 มิถุนายน 2547) (แหล่งอ้างอิง : คำแนะนำ การนำมาตรฐานการควบคุมภายในไปใช้ในเชิงปฏิบัติ ของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน www.oag.go.th) ปัจจัยเสี่ยง หมายถึง สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสี่ยง
R I ความเสี่ยงจากปัจจัยภายใน 1. Financial Risk 2. Operational Risk (รวม Human Resource) 3. Policy/Strategic Risk ความเสี่ยงจาก 4. ปัจจัยภายนอก Competitive Risk Supplier Risk Regulatory Risk Econ/Political Risk S K การแข่งขัน ผู้ขาย/ผู้ส่งมอบ กฎระเบียบ เศรษฐกิจ/การเมือง การเงิน การดำเนินงาน นโยบาย/กลยุทธ์ ประเภทและแหล่งของความเสี่ยง
R I S K Risk-Control-Internal Auditing Risk Control Wastes Unacceptable • วัตถุประสงค์ /เป้าหมายที่ไม่มี การควบคุม ยอมรับไม่ได้ • การควบคุม โดยปราศจาก ความเสี่ยง คือความสูญเสียด้านทรัพยากร • ความเสี่ยง ที่ปราศจากการควบคุม เป็นเรื่องที่ยอมรับไม่ได้ • การตรวจสอบภายใน ที่ไม่ครอบคลุมทั้ง ความเสี่ยง และการควบคุมเป็นเรื่องที่เสียเวลา = รายงานสิ่งผิดปกติ Abnormality Report “Risk Based Auditing”
R I S K 3 ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ (ObjectivesEstablishment) 2. การระบุความเสี่ยง Risk Management System 1 2 (Risk Identification) 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 4 4. การสร้างแผนจัดการ (Risk ManagementPlanning) 5. การติดตามสอบทาน (Monitoring & Review)
2 3 ก2 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหาย ระยะสั้นส่งผลต่อความเชื่อมั่นขององค์กร เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย แต่มีโอกาสในการเกิดไม่บ่อย ก1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหาย ระยะสั้นส่งผลต่อความเชื่อมั่นขององค์กร เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน และมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นบ่อยๆ ข1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลในระยะยาว ความเสียหายอาจจะไม่รุนแรงในระยะต้น แต่บั่นทอนหรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ในอนาคต และมีโอกาสเกิดขึ้นบ่อย ข2 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลในระยะยาว ความเสียหายอาจจะไม่ชัดเจน แต่บั่นทอนหรือ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาในอนาคต และมีโอกาสในการเกิดไม่บ่อย K I R S การจัดระดับความเสี่ยง
4 R I 1.Take การยอมรับความเสี่ยง S K 2.Treat การลด/ควบคุมความเสี่ยง 3.Terminate การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง 4.Transfer การกระจาย/โอนความเสี่ยง การสร้างแผนจัดการ ประเภทของแผนจัดการความเสี่ยง
5 การติดตามผล (ตัวอย่าง ธ.กรุงเทพ) ลำดับ ความเสี่ยง ตัวชี้วัด สภาพปัจจุบัน เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 1 เอกสารไม่ชัดเจน สามารถจัดหาเอกสารที่ถูกต้องเรียบ ร้อยและทันตามเวลาที่ ธปท.กำหนด 85 % 95 % จนท.ผู้รับผิดชอบ 2 ลืม / ลดยอดภาระผิด -ต้องลดยอดภาระไม่ผิดพลาด -ลดปริมาณเอกสารที่ส่งมาทาง FAX - สามารถตอบลูกค้าได้อย่างรวดเร็วเมื่อลูกค้าขอเช็คสอบภาระ 2 ครั้ง / 3 เดือน ใช้เวลา 3 นาที ไม่ผิดพลาดเลย ใช้เวลา 1 นาที ทุกคน 3 เข้าบัญชีผิดสกุล / Amount เข้าบัญชีผิดพลาดน้อยลง หรือไม่ผิดเลย 2 ราย / 3 เดือน ไม่ผิดพลาดเลย ทุกคน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า 2. เป็นภาพลักษณ์ที่ดีของธนาคาร เนื่องจากสามารถเตรียมเอกสารได้ถูกต้องและทันเวลาตามความประสงค์ของ ธปท. 2. เจ้าหน้าที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการ 4. ลดค่าใช้จ่ายทาง FAX เช่น กระดาษ, ค่าผงหมึก และค่าเก็บรักษาเอกสารที่ดอนเมือง