1 / 12

- การทดสอบสมรรถภาพทางกาย -

- การทดสอบสมรรถภาพทางกาย -. Physical Fitness Test. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ( Muscular Stremgth ). ความอดทนของกล้ามเนื้อ ( Muscular Endurance). การทดสอบสมรรถภาพทางกาย. หมายถึง การวัดและประเมินผล ความแข็งแรงสมบูรณ์ของร่างกายหรือสมรรถภาพทางกานในด้านต่างๆ. ความอ่อนตัว ( Flexibility).

boydl
Download Presentation

- การทดสอบสมรรถภาพทางกาย -

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. - การทดสอบสมรรถภาพทางกาย - Physical Fitness Test

  2. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Stremgth) ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) การทดสอบสมรรถภาพทางกาย หมายถึง การวัดและประเมินผล ความแข็งแรงสมบูรณ์ของร่างกายหรือสมรรถภาพทางกานในด้านต่างๆ ความอ่อนตัว (Flexibility) ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ (Cardio respiratory Endurance)

  3. ประโยชน์การทดสอบสมรรถภาพทางกายประโยชน์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1 1 ผลที่ได้จากการทดสอบสามารถใช้เป็นแนวทางในการกำหนดรูปแบบและวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล 2 2 ผลที่ได้จากการทดสอบทั้งก่อนและหลังการออกกำลังกายสามารถนำมาเปรียบเทียบเพื่อประเมินผลถึงความก้าวหน้าทางด้านสมรรถภาพทางกายได้ 3 3 ผลที่ได้จากการทดสอบสามารถนำไปวินิจฉัยเบื้องต้นถึงความบกพร่องทางด้านร่างกายที่มีแนวโน้มที่อาจจะเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพ

  4. ผู้ที่มีอายุเกิน 40 ปี ถ้ามีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ไขมันในเลือดสูง ควรได้รับการตรวจจากแพทย์ก่อน เพราะอาจเป็นอันตรายในการทดสอบรายการ ข้อควรระวัง • ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ • ความอดทนระบบไหลเวียนเลือด แต่ในรายการต่อไปนี้ สามารถทำได้ถ้าสภาพร่างกายพร้อม ข้อควรระวัง และ ข้อควรปฏิบัติ • ขนาดของร่างกาย • ชีพจรและความดันเลือดขณะพัก • ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ

  5. 1 เตรียมเครื่องแต่งกายให้พร้อม 2 ควรมีผู้ช่วยทำการทดสอบให้ 3 ควรทดสอบหลังรับประทานอาหารหนักอย่างน้อย 2 – 3 ชั่วโมง ข้อควรปฏิบัติ 4 ปฏิบัติตามวิธีการอย่างถูกต้อง 5 ตั้งใจทำอย่างเต็มความสามารถ 6 ควรทดสอบเป็นประจำทุก 2 เดือน

  6. การวัดและประเมินสมรรถภาพทางกายมีรายละเอียดดังนี้ การวัดและประเมินสมรรถภาพทางกายมีรายละเอียดดังนี้ 1. การวัดชีพจรและความดันโลหิตขณะพักเป็นการตรวจสุขภาพทั่วไป ซึ่งปัจจัยทั้งสองนี้จะบอกถึงสมรรถภาพการทำงานของระบบไหลเวียนได้ในเบื้องต้น 2. การวัดความจุปอด คือ การทดสอบความสามารถในการหายใจออกให้ได้ปริมาตรอากาศมากที่สุด ภายหลังหายใจนำปริมาตรอากาศสูงสุดเข้าสู่ปอด การวัดความจุปอดจะทำให้ทราบประสิทธิภาพการทำงานของปอด 3. การวัดแรงบีบมือ คือ การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขนและมือ แรงบีบมือที่วัดได้ทำให้ทราบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อบริเวณแขนและมือซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่ต้องใช้งานหรือออกแรงเป็นประจำ 4. การวัดแรงเหยียดขา คือ การวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา บริเวณต้นขาทั้งสองข้างซึ่งกล้ามเนื้อบริเวณดังกล่าวเป็นกลุ่มกล้ามเนื้อที่ใช้เพื่อการเคลื่อนไหวและเล่นกีฬาทุกชนิด 5. การวัดความอ่อนตัว คือ การวัดขีดความสามารถของร่างกายในการเคลื่อนไหวข้อต่อและกล้ามเนื้อ หรือยืดเหยียดเอ็นยึดข้อต่อตำแหน่งต่างๆ ค่าที่ได้จากการวัดความอ่อนตัวจะทำให้ทราบว่าข้อต่อสามารถเคลื่อนไหวและยืดเหยียดได้เต็มพิกัดหรือไม่ มากน้อยเพียงไร

  7. ตั้งระดับเข็มบนสเกลให้อยู่ที่ศูนย์ (0) ความจุปอด ผู้เข้ารับการทดสอบยืนตัวตรง จับเครื่องเป่าอยู่ระดับปาก เป็นการวัดปริมาตรการหายใจเข้า-ออกลึกที่สุด 1 ครั้ง (vital capacity) คนที่ออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเป็นประจำ จะมีความจุปอดมากซึ่งเป็นผลดีต่อการนำออกซิเจนไปใช้ หายใจเข้าเต็มที่ และเป่าลมเข้าในหลอดให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ (ขณะเป่า ห้ามงอตัวหรือบีบแขนหน้าอก) ทดสอบ 2 ครั้ง ให้ค่าที่มาก อุปกรณ์ • spirometer บันทึกผลการวัด นำผลที่ได้หารด้วยน้ำหนักตัวของผู้เข้ารับการทดสอบ

  8. จัดระดับที่จับของเครื่องมือให้เหมาะสมกับมือของผู้ถูกวัด จัดระดับที่จับของเครื่องมือให้เหมาะสมกับมือของผู้ถูกวัด แรงบีบมือ ผู้เข้ารับการทดสอบ ปล่อยแขนตามสบายข้างลำตัว เพื่อวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขนข้างที่ถนัด ใช้มือข้างที่ถนัด กำที่จับของ hand grip dynamometer ห้ามแนบลำตัว อุปกรณ์ • hand grip dynamometer ออกแรงกำมือให้แรงที่สุด ทำการทดสอบ 2 ครั้ง ใช้ค่าที่มาก บันทึกผลการวัด นำผลที่ได้หารด้วยน้ำหนักตัวของผู้เข้ารับการทดสอบ

  9. ผู้เข้ารับการทดสอบยืนบนที่วางเท้าของเครื่องมือผู้เข้ารับการทดสอบยืนบนที่วางเท้าของเครื่องมือ แรงเหยียดขา ย่อเข่าลงและแยกขาเล็กน้อย โดยให้หลังและแขนตรง เพื่อวัดความแข็งแรงของกลุ่มกล้ามเนื้อขา จับที่ดึงในท่าคว่ำมือ เหนือระหว่างเข่าทั้งสอง จัดสายให้พอเหมาะ อุปกรณ์ ออกแรงเหยียดขาให้เต็มที่ ทำการทดสอบ 2 ครั้ง ใช้ค่าที่มาก • back and legdynamometer บันทึกผลการวัด นำผลที่ได้หารด้วยน้ำหนักตัวของผู้เข้ารับการทดสอบ

  10. ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณหลัง ต้นขาด้านหลัง สะโพก ไหล่ นั่งงอตัว นั่งพื้น เหยียดขาตรง สอดเท้าเข้าใต้ม้าวัด โดยเท้าทั้งสองตั้งฉากกับพื้นและชิดกัน ฝ่าเท้าจรดแนบกับที่ยันเท้า เหยียดแขนตรงขนานกับพื้น เพื่อชี้วัดถึงความยืดหยุ่นของกลุ่มกล้ามเนื้อบริเวณต้นขาด้านหลัง หลังส่วนล่าง ค่อย ๆ ก้มตัวไปข้างหน้าให้มืออยู่บนม้าวัด จนไม่สามารถก้มต่อไปได้ ห้ามโยกตัวหรือก้มตัวแรง ๆ ให้ปลายนิ้วมือเสมอกัน และรักษาระยะทางนี้ไว้ได้อย่างน้อย 2 วินาที อุปกรณ์ • ม้าวัดความอ่อนตัว 1 ตัว มีที่ยันเท้าและมาตรวัดระยะทางเป็น +30 ซม. หรือ +35 ซม.และ -30 ซม. จุด " 0 " อยู่ตรงที่ยันเท้า • เสื่อ หรือพรม หรือกระดาน สำหรับรองนั่ง อ่านระยะจากจุด " 0 " ถึงปลายนิ้วมือ ถ้าเหยียดปลายนิ้วมือเลยปลายเท้า บันทึกค่าเป็น + ถ้าเหยียดไม่ถึงปลายเท้า ให้บันทึกเป็น -

  11. ทดสอบสมรรถภาพ เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลทัพทัน

  12. Thank You

More Related