310 likes | 489 Views
สาเหตุของความแปรปรวนในคุณภาพ. ความแตกต่างกันของเครื่องจักร ความแตกต่างกันของวัสดุ ความแตกต่างกันของคนงาน ความแตกต่างกันในวิธีทำงาน. การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ ( Statistical Process Control). ผังค่าเฉลี่ย (The Average Chart / X Chart) - ใช้ควบคุมค่าเฉลี่ยที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง
E N D
สาเหตุของความแปรปรวนในคุณภาพสาเหตุของความแปรปรวนในคุณภาพ • ความแตกต่างกันของเครื่องจักร • ความแตกต่างกันของวัสดุ • ความแตกต่างกันของคนงาน • ความแตกต่างกันในวิธีทำงาน
การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ(Statistical Process Control) • ผังค่าเฉลี่ย (The Average Chart / X Chart) - ใช้ควบคุมค่าเฉลี่ยที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง • ผังค่าพิสัย (The Range Chart / R Chart) - ใช้ควบคุมความแตกต่างระหว่างค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง • ผังค่าสัดส่วน (P Chart) - ใช้ควบคุมสัดส่วนของเสียที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง
X Chart Control Limits (หน้า 74) ใช้ควบคุมค่าเฉลี่ยที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง UCLX = X+A2( R ) LCLX = X -A2( R ) X = ค่าเฉลี่ยทั้งหมด (X)ของค่าเฉลี่ยที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง( x ) A2 = ค่าคงที่ A (3) R = ค่าเฉลี่ยของพิสัย ตัวอย่างหน้า 75
R Chart ใช้ควบคุมความแตกต่างระหว่างค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดจากการสุ่มตัวอย่าง UCLR =D4( R ) LCLR =D3( R ) D4 = ค่าคงที่ D ในการคำนวณค่า UCL(3) D3 = ค่าคงที่ D ในการคำนวณค่า LCL(3) R = ค่าเฉลี่ยของพิสัย ตัวอย่างหน้า 75- 76
จำนวนของผลิตภัณฑ์ที่มีข้อบกพร่องจากการตรวจสอบจำนวนของผลิตภัณฑ์ที่มีข้อบกพร่องจากการตรวจสอบ จำนวนตัวอย่างทั้งหมดที่ทำการตรวจสอบ p = แผนภูมิควบคุมแบบ p ( p – chart ) ใช้ควบคุมสัดส่วนของเสียที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง UCLp = p + zp LCLp = p - zp Z =ตัวเลขส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกระบวนการ p =ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสัดส่วนของเสียจากการ สุ่มตัวอย่าง
p Chart Trial Control Limits z = 2 for 95.5% limits; z = 3 for 99.7% limits # Defective Items in Sample i Size of sample i
แบบฝึกหัด (10 นาที ) • หน้า 87 ข้อ 3
2.ในการบรรจุข้าวมีการสุ่มตัวอย่างครั้งละ 10 ถุง พบว่าน้ำหนักเฉลี่ยของ ข้าวจากการสุ่มตัวอย่างทั้งหมดเท่ากับ 50 กก. พิสัยเฉลี่ยเท่ากับ 2 ขีด 1. หาช่วงควบคุมน้ำหนักของข้าว โดยวิธี average chart 2. หาช่วงควบคุมน้ำหนักของข้าว โดยวิธี range chart ถ้าสุ่มตัวอย่างครั้งละ 100 ถุง พบว่าสัดส่วนของเสียเฉลี่ยเท่ากับ 0.10 3. จงหาช่วงควบคุมของค่าสัดส่วน (กำหนดให้ z เท่ากับ 3) 10 นาทีคะ
MJU. การจัดการ/ควบคุมคุณภาพ การควบคุมคุณภาพโดยแนวทาง Six Sigma • เน้นผลได้ที่เกิดขึ้น (Result Oriented) • เป็นแนวทางสำหรับการวัดและตั้งเป้าหมายเพื่อลดของเสียในการผลิตสินค้า/บริการ เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า • ทำให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในทุกส่วนขององค์กร ทั้งในส่วนของต้นทุน คุณภาพ ความรวดเร็ว ฯลฯ และทำให้เกิดการประหยัดต้นทุนโดยรวม และทำให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
MJU. การจัดการ/ควบคุมคุณภาพ การควบคุมคุณภาพโดยแนวทาง Six Sigma • คำว่า “Sigma” เป็นระดับที่แสดงถึงส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) จากค่าเฉลี่ย (Mean) • ซึ่งผังควบคุมส่วนใหญ่จะกำหนดช่วงการควบคุมไว้ที่ ±3 S.D. (±3)โดยสามารถครอบคลุมการกระจายแบบปกติ (Normal Distribution) ได้ 99.74% ซึ่งทำให้เกิดของเสียได้ 66,803 ชิ้น ต่อ 1 ล้านชิ้น แต่ แนวทาง Six Sigma ได้ขยายช่วงการควบคุมออกเป็น ±6 S.D. (±6) ทำให้ของเสียลดลงเหลือ 3.4 ชิ้น ต่อ 1 ล้านชิ้น
MJU. การจัดการ/ควบคุมคุณภาพ มาตรฐานด้านคุณภาพ • มาตรฐาน ISO 9000เป็นมาตรฐานสากลของระบบคุณภาพการผลิตสินค้า / บริการ • มาตรฐาน ISO 1400เป็นมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง • มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) เป็นมาตรฐานที่มุ่งให้องค์กรสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีการพัฒนาคุณภาพและใช้ทรัพยากรอย่างประสิทธิภาพ ทำให้ลดค่าใช้จ่ายต่างๆ ลงไป
MJU. การจัดการดำเนินงาน(Operations Management) ภาพรวมของการจัดการดำเนินงาน บทที่ 4 การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management)
MJU. โซ่อุปทาน การจัดการโซ่อุปทาน • การจัดการโซ่อุปทาน เป็นการจัดการเพื่อให้การผลิตและการส่งมอบสินค้า/บริการสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ โดยมีสารสนเทศเข้ามาช่วยดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้เป็นไปด้วยดี • ธุรกิจที่อยู่ในโซ่อุปทาน จะมีการดำเนินงานที่เกี่ยวเนื่องกันเป็นห่วงโซ่ต่อไปเรื่อย ๆ ตั้งแต่ supplier (ผู้ผลิตคนแรก)จนถึงลูกค้าลำดับสุดท้าย โดยมีปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการจัดการและการประสานงานที่ดีระหว่างฝ่ายต่างๆ ที่อยู่ในโซ่อุปทานคือ สารสนเทศ
โซ่อุปทาน สารสนเทศ ผู้ที่อยู่ในโซ่อุปทาน
MJU. โซ่อุปทาน ส่วนประกอบของโซ่อุปทาน กิจกรรม – การพยากรณ์ความต้องการ สินค้า - การดำเนินคำสั่งซื้อ - การจัดซื้อจัดหา - การวางแผน และการ ควบคุมการผลิต - การขนส่ง - การจัดการสินค้าคงคลัง - การกระจายสินค้า - การจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศ - การจัดการคุณภาพ - การให้บริการลูกค้า
MJU. โซ่อุปทาน ส่วนประกอบของโซ่อุปทาน สถานที่ - สถานที่ผลิตสินค้า (โรงงาน) - สถานที่เก็บสินค้า (คลังสินค้า) - สถานที่กระจายสินค้า (ศูนย์บริการ ร้านค้าส่ง ร้านค้าปลีก) การขนส่ง - วัตถุดิบ จาก supplier โรงงาน ผู้บริโภค
MJU. การจัดการดำเนินงาน(Operations Management) ภาพรวมของการจัดการดำเนินงาน บทที่ 5 การจัดการทรัพยากรมนุษย์และการวัดงาน
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน สิ่งสำคัญที่จะทำให้องค์กรสามารถแข่งขันได้ ประกอบด้วย...???...
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์คือ เพื่อให้พนักงานปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน จัดคนให้ตรงกับ Job Specification ของงานนั้นๆ หลักการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • การจัดคนให้เหมาะสมกับงาน • การกำหนดความรับผิดชอบในการทำงานของแต่ละคน / กลุ่มให้ชัดเจน • การฝึกอบรม เพื่อให้องค์กรมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และอยู่รอดได้ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม • การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร มาตรฐานงานควรมีการปรับปรุงเป็นระยะๆ โดยผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายขององค์กรด้วย
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน หลักการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • การควบคุม เพื่อให้ผลงานที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปตามที่กำหนดไว้ • การติดต่อสื่อสารและการมีส่วนร่วมของพนักงาน ควรมีการติดต่อแบบสองทางระหว่างผู้บริหารและพนักงาน และการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ทำให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานด้วย • การใช้สิ่งจูงใจ เพื่อให้ปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่กำหนด และเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในความรู้สึกของผู้รับ
MJU. พนักงานสามารถทำงานแทนพนักงานอื่นที่ขาดได้ทันที โดยไม่ทำให้เกิดการหยุดชะงักในการดำเนินการ การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน การออกแบบงาน (Job design) เป็นการระบุเนื้อหาของงานที่ต้องการให้บุคคลปฏิบัติ ตลอดจนทักษะการปฏิบัติ และผลที่ต้องการได้รับจากงานนั้น การออกแบบงานที่ดี ต้องให้เกิดความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงานของพนักงาน และต้องทำให้เกิดการผลิตสินค้า/บริการที่มีคุณภาพ และพนักงานมีความพอใจในงาน วัตถุประสงค์ของการออกแบบงาน เพื่อปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตของกิจการ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน พัฒนาการแนวคิดของการออกแบบงาน • การทำงานเฉพาะอย่าง (Job Specialization) ให้พนักงานทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กำหนดไว้ และมีการทำซ้ำอยู่เสมอ • การขยายของเขตของงาน (Job Enlangement)ให้พนักงานทำงานหลายอย่างขึ้น แต่เป็นงานในระดับเดียวกัน เป็นการขยายงานตามแนวนอน เพื่อลดความเบื่อหน่ายจากการทำงานที่ซ้ำๆ กัน ทำให้มีความพอใจในการทำงานมากขึ้น • การเพิ่มคุณค่าของงาน (Job Enrichment)มีการมอบอำนาจในการตัดสินใจให้พนักงานเพิ่มขึ้น หรือให้มีการทำงานเป็นทีมที่มีการบริหารจัดการกันเอง (Self-managed teams) • การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation)ให้พนักงานทำงานได้หลากหลาย สมมุติฐาน : การทำงานซ้ำๆ จะช่วยให้เกิดการปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพของงาน เพราะช่วยเพิ่มพูนทักษะ ทำงานได้เร็วขึ้น ลดเวลาฝึกอบรม การ rotate ทำให้มีความยืดหยุ่นในการทำงานสูง แต่การ rotate จะมีประสิทธิผลได้เมื่อบุคลากรมีความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงานที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น ดังนั้น องค์กรต้องฝึกอบรมให้ทำงานได้หลายอย่าง และมีการจ่ายค่าตอบแทนตามความสามารถของแต่ละคน
MJU. หน่วย การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน • เส้นโค้งการเรียนรู้ (Learning Curve)แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการผลิตสินค้าต่อหน่วย และจำนวนหน่วยของสินค้าที่ผลิต โดยมีสมมุติฐานว่า “เมื่อมีการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น จะทำให้เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้าต่อหน่วยลดลง” เนื่องจากประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น มีความชำนาญมากขึ้น ฯลฯ • วิธีการทางวิศวกรรม (Method Engineering)เป็นการวิเคราะห์กระบวนการต่างๆ เพื่อลดหรือกำจัดขั้นตอนการทำงานที่ไม่จำเป็นออกไป หรือเชื่อมขั้นตอนการทำงานๆ เข้าด้วยกัน เพื่อลดต้นทุนการผลิต ลดพลังงาน ลดเวลา ลดการใช้ส่วนประกอบที่ไม่จำเป็นลง • วิศวกรรมมนุษยศาสตร์ (Human Factor Engineering)ใช้หลักการทางวิศวกรรมมาวิเคราะห์ลักษณะการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และทำการออกแบบสภาวะในการทำงานให้เข้ากับสภาพร่างกายของพนักงาน ชม.
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Work Standard) • เป็นการกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน หรือเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ประโยชน์ของมาตรฐานการปฏิบัติงาน • กำหนดต้นทุนและราคา เนื่องจากมาตรฐานการปฏิบัติงานจะสามารถบอกต้นทุนมาตรฐานที่จะนำไปกำหนดราคาสินค้าได้ • การจูงใจพนักงาน ให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงาน เช่น การให้ bonus แก่ผู้ที่มีผลงานสูงกว่ามาตรฐาน • การประเมินผลการปฏิบัติงานโดยเปรียบเทียบผลงานจริงกับมาตรฐาน • วางแผนกระบวนการผลิตสินค้าและบริการ
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน การวัดงาน (Work Measurement) • เป็นการวัดเวลาการทำงานของพนักงาน / เครื่องจักร เพื่อใช้ในการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน วิธีการวัดงาน • การศึกษาเวลาการปฏิบัติงาน (Time Study) เป็นการวัดเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานแต่ละงาน เพื่อกำหนดเวลามาตรฐาน เพื่อนำไปใช้ในการควบคุมการปฏิบัติงานของพนักงานและเครื่องจักร โดยใช้นาฬิกาจับเวลาการปฏิบัติงานในแต่ละงาน • การใช้ข้อมูลที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (Predetermined Data) เป็นการกำหนดเวลามาตรฐานของการปฏิบัติงานนั้นๆ ล่วงหน้า มักใช้กับการผลิตสินค้าใหม่หรือองค์กรใหม่ • การสุ่มตัวอย่างงาน (Work Sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างทางสถิติ เพื่อหาเวลามาตรฐานที่ใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆ
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน การใช้สิ่งจูงใจ (Incentives) • เป็นการให้เงินเดือน ค่าจ้าง ผลประโยชน์ต่างๆ เพื่อให้พนักงานมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ดี สิ่งจูงใจมี 2 ประเภท คือ ด้านการเงิน และผลประโยชน์ต่างๆ 1. สิ่งจูงใจด้านการเงิน (Financial Incentives) • เป็นการจ่ายค่าตอบแทนโดยตรง สำหรับผลการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคน / กลุ่ม เช่น การจ่ายค่าแรงรายชิ้น การแบ่งปันผลกำไร 1.1 การจ่ายค่าแรงรายชิ้น (Piece Rate Method) 1.2 การแบ่งปันผลกำไร (Profit Sharing)
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน 1.1 การจ่ายค่าแรงรายชิ้น (Piece Rate Method) 1.2 การแบ่งปันผลกำไร (Profit Sharing) • เป็นการจัดสรรกำไรส่วนหนึ่ง เพื่อตอบแทนให้แก่พนักงานตามความเหมาะสม เป็นวิธีที่ทำให้พนักงานรู้สึกว่าตนมีส่วนร่วมในการผลกำไรของกิจการ และพยายามที่จะทำงานเพื่อให้กิจการมีกำไรมากที่สุด เพื่อผลกำไรนั้นจะได้กลับมาแบ่งปันให้พนักงาน เช่น การให้โบนัส การให้หุ้น การให้เงินปันผล ฯลฯ 2. ผลประโยชน์อื่นๆ (Fringe Benefits) • ผลประโยชน์ หมายถึง สิทธิและผลประโยชน์ที่องค์กรตอบแทนให้แก่พนักงาน นอกเหนือจากเงินเดือนและค่าจ้างประจำ เช่น การประกัน การพักผ่อน การฝึกอบรม ฯลฯ
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน • วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน • 1. เพื่อใช้ในการพิจารณาขึ้นเงินเดือน เลื่อนตำแหน่ง โยกย้าย ลดเงินเดือน ปลดออก ฯลฯ • 2. เพื่อให้พนักงานได้ข้อมูลย้อนกลับในการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขวิธีการ ทักษะ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการทำงานของแต่ละคน วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน • จัดลำดับพนักงาน (Ranking Method) • จำแนกกลุ่มพนักงาน (Classification Method) • มาตรการประเมิน (Rating Scale)
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน แนวโน้มการจัดการสมัยใหม่ • การคัดเลือกพนักงาน ให้พนักงานเก่าทำการคัดเลือกพนักงานใหม่ • ออกแบบงานเน้นการทำงานเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีอำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบร่วมกันในกิจกรรมของกลุ่ม • จ่ายค่าตอบแทน ขึ้นอยู่กับความสามารถในการเรียนรู้งานชนิดต่างๆ ของพนักงานแต่ละคน • การออกแบบและวางผังโรงงาน พนักงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจร่วมกับฝ่ายบริหารทั้งในการออกแบบและวางผังโรงงาน เลือกเครื่องมือเครื่องจักรในการผลิต ทำให้ผู้บริหารมีข้อมูลในการตัดสินใจมากขึ้น และช่วยให้กลุ่มยอมรับการตัดสินใจของผู้บริหารมากขึ้น
MJU. การจัดการทรัยพากรมนุษย์ในการดำเนินงาน แนวโน้มการจัดการสมัยใหม่ • การจัดการ ผังโรงงานมีลักษณะแบบราบ คือ การจัดลำดับชั้นของสายการบังคับฯ มีน้อยลง นาย ก. ห่อสินค้า A ได้ 500 ชิ้น และสินค้า B ได้ 200 ชิ้น โดยองค์กรมีมาตรฐานในการห่อสินค้า A = 60 ชิ้น/ชั่วโมง และห่อสินค้า B = 40 ชิ้น/ชั่วโมง มีค่าแรงชั่วโมงละ 6 บาท นาย ก มีรายได้ทั้งหมดเท่าใด (5 นาที) สินค้า A 60 ชิ้น 6 บาท 1 ชิ้น (6*1)/60 = 0.10 บาท ได้ค่าแรงรวม 500 ชิ้น*0.10 บาท = 50 บาท สินค้า B 40 ชิ้น 6 บาท 1 ชิ้น (6*1)/40 = 0.15 บาท ได้ค่าแรงรวม 200 ชิ้น*0.15 บาท =30 บาท รวมนาย ก.ได้ค่าแรง 50 + 30= 80 บาท