470 likes | 857 Views
ข้อควรรู้เกี่ยวกับการประกันสังคม โดย สำนักงานประกันสังคม จังหวัดปทุมธานี. สำนักงานประกันสังคมเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในด้านการสร้างหลักประกันความมั่นคงในการดำรงชีวิตให้แก่ลูกจ้าง ผู้ประกันตน. ภารกิจที่สำคัญ. บริหารจัดการ 2 กองทุน 1 . กองทุนประกันสังคม ตาม พรบ.ประกันสังคม พศ.2533
E N D
ข้อควรรู้เกี่ยวกับการประกันสังคมข้อควรรู้เกี่ยวกับการประกันสังคม โดย สำนักงานประกันสังคม จังหวัดปทุมธานี
สำนักงานประกันสังคมเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในด้านการสร้างหลักประกันความมั่นคงในการดำรงชีวิตให้แก่ลูกจ้าง ผู้ประกันตน
ภารกิจที่สำคัญ • บริหารจัดการ 2 กองทุน 1. กองทุนประกันสังคม ตาม พรบ.ประกันสังคม พศ.2533 2. กองทุนเงินทดแทน ตาม พรบ.กองทุนเงินทดแทน พศ.2537
หน้าที่หลักของ สปส. • ขึ้นทะเบียนนายจ้าง / ลูกจ้าง • จัดเก็บเงินสมทบ นายจ้าง / ลูกจ้าง • ให้สิทธิประโยชน์ ลูกจ้าง / ผู้ประกันตน
หลักการประกันสังคม 1. เฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข 2. เฉพาะกลุ่มที่เป็นสมาชิก
ความหมายและประเภทของผู้ประกันตนความหมายและประเภทของผู้ประกันตน • ผู้ประกันตน คือ ลูกจ้างที่เข้าทำงานอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี และไม่เกิน 60 ปี อยู่ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไปซึ่งทั้งนายจ้างและลูกจ้างต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม โดยบังคับ ผู้ประกันตน ม.33 โดยสมัครใจ ผู้ประกันตน ม.39 ผู้ประกันตน ม.40
การขึ้นทะเบียนและการจัดเก็บเงินสมทบการขึ้นทะเบียนและการจัดเก็บเงินสมทบ • นายจ้างทุกประเภทกิจการที่มีลูกจ้าง 1 คนขึ้นไปต้องขึ้นทะเบียนนายจ้างและลูกจ้างภายใน 30 วัน • ทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้างให้นายจ้างหักค่าจ้างของผุ้ประกันตนนำส่งสำนักงานประกันสังคมพร้อมกับส่วนของนายจ้างภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
การขึ้นทะเบียนและการจัดเก็บเงินสมทบการขึ้นทะเบียนและการจัดเก็บเงินสมทบ • เมื่อนายจ้างได้หักค่าจ้างผู้ประกันตนแล้ว ถือว่า ผู้ประกันตนได้จ่ายเงินสมทบแล้วตั้งแต่วันที่นายจ้างหักค่าจ้าง • อัตราเงินสมทบร้อยละ 5 • อัตราค่าจ้างต่ำสุดที่คำนวนส่งเงินสมทบ 1,650 บาท • อัตราค่าจ้างสูงสุดที่คำนวนส่งเงินสมทบ 15,000 บาท
อัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม(ผปต.ม.39) (ฐานค่าจ้าง4,800 บาท) หน่วย %
สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม 7 กรณี • เงื่อนไขการได้สิทธิ กรณีเจ็บป่วย- ทุพพลภาพ จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 3 เดือนภายใน 15 เดือนก่อนป่วย -ทุพพลภาพ กรณีคลอดบุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 7 เดือนภายใน 15 เดือนก่อนคลอด
สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม 7 กรณี • เงื่อนไขการได้สิทธิ กรณีตาย จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 1 เดือนภายใน 6 เดือนก่อนตาย กรณีสงเคราะห์บุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 12 เดือนภายใน 36 เดือนก่อนมีสิทธิ
สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม 7 กรณี • เงื่อนไขการได้สิทธิ กรณีว่างงาน จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 6 เดือนภายใน 15 เดือนก่อนว่างงาน กรณีชราภาพ (เป็นลักษณะเงินออม) เริ่มตั้งแต่เงินสมทบเดือน ธ.ค. 2541
1. กรณีเจ็บป่วย • เจ็บป่วยปกติ • ผปต.เข้ารพ. ตามบัตร, ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย • ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 50% ของค่าจ้าง เฉลี่ยครั้งละไม่เกิน 90 วัน • ปีละไม่เกิน 180 วัน • เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังจ่าย 365 วัน
1. กรณีเจ็บป่วย • เจ็บป่วยฉุกเฉิน • ผู้ป่วยนอก ปีละไม่เกิน 2 ครั้ง ผู้ป่วยใน ปีละไม่เกิน 2 ครั้ง • จ่ายค่ารักษาไปก่อน นำใบเสร็จและใบรับรองแพทย์ มาเบิกคืนที่ สปส. • ต้องรีบแจ้ง รพ. ที่ระบุในบัตรทันที สปส.รับผิดชอบจ่ายค่ารักษาพยาบาลภายใน 72 ชม.แรก
1. กรณีเจ็บป่วย • เจ็บป่วยจากการประสบอันตราย • จ่ายค่ารักษาไปก่อน นำใบเสร็จและใบรับรองแพทย์ มาเบิกคืนที่ สปส. • ต้องรีบแจ้ง รพ. ที่ระบุในบัตรทันที สปส.รับผิดชอบจ่ายค่ารักษาพยาบาลภายใน 72 ชม.แรก • ไม่จำกัดจำนวนครั้ง
1. กรณีเจ็บป่วย • เจ็บป่วยฉุกเฉิน / ประสบอันตราย เข้ารักษา รพ.รัฐ • สปส.รับผิดชอบค่ารักษาเท่าที่จ่ายจริงทั้งหมด ผู้ป่วยนอก • สปส.รับผิดชอบเท่าที่จ่ายจริงภายใน 72 ชม. • ค่าห้อง ค่าอาหาร ไม่เกิน 700 บาท / วัน ผู้ป่วยใน เข้ารักษา รพ.เอกชน • ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน สปส.รับผิดชอบค่ารักษาตามประกาศฯ
กรณีทันตกรรม • จ่ายค่า ถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน เท่าที่จ่ายจริง ครั้งละไม่เกิน 250 บาท ปีละไม่เกิน 500 บาท • จ่ายค่าฟันเทียมชนิดถอดได้ฐานอครีลิค เท่าที่จ่ายจริง 1 - 5 ซี่ ชิ้นละไม่เกิน 1,200 บาท เกินกว่า 5 ซี่ ชิ้นละไม่เกิน 1,400 บาท
กรณีทันตกรรม • ภายในระยะเวลา 5 ปี เบิกได้ไม่เกิน 1,400 บาท • ไปทำฟันที่สถานพยาบาลใดก็ได้นำใบเสร็จและใบรับรองแพทย์มาเบิกที่ สปส.
สปส.เหมาจ่าย 12,000บาท ต่อการคลอด 1 ครั้ง • ไปคลอดที่ไหนก็ได้ • เฉพาะ ผปต.หญิง ได้รับเงินสงเคระห์ 50% ของค่าจ้าง 90 วัน • ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับคนละ 2 ครั้ง • ผู้ประกันตนชายที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสใช้หนังสือรับรองกรณีอยู่กินฉันสามี ภรรยาโดยเปิดเผยและไม่มีภรรยาตามกฏหมาย 2. กรณีคลอดบุตร
3. กรณีทุพพลภาพ • ค่ารักษาพยาบาลไม่เกินเดือนละ 2,000 บาท • อวัยวะเทียม / อุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค • ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ 40,000 บาท / ราย • เงินทดแทน 50% ของค่าจ้างตลอดชีวิต • ตายได้รับค่าทำศพและเงินสงเคราะห์
4. กรณีตาย • ค่าทำศพ 30,000 บาท • เงินสงเคราะห์แก่ทายาท ดังนี้ • จ่ายเงินสมทบ 3ปี ไม่ถึง 10ปี =ค่าจ้าง 1เดือนครึ่ง • จ่ายเงินสมทบ 10ปีขึ้นไป = ค่าจ้าง 5 เดือน
5. กรณีสงเคราะห์บุตร • เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือมาตรา 39 • เงินสงเคราะห์บุตร 350 บาท / เดือน • บุตรแรกเกิด - 6 ปี • คราวละไม่เกิน 2 คน • เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย • ผปต. ตายหรือทุพพลภาพให้ผู้อุปการบุตรรับเงินต่อจนบุตรอายุ 6 ปี
6. กรณีชราภาพ บำเหน็จชราภาพ • อายุ 55 ปี และสิ้นสภาพผู้ประกันตน • จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน • ได้รับเงินคราวเดียว สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ • จ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน ได้รับบำเหน็จ • เท่ากับจำนวนเงินสมทบของผู้ประกันตน
6. กรณีชราภาพ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ • จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป ได้รับบำเหน็จ • เท่ากับจำนวนเงินสมทบส่วนของผู้ประกันตนและนายจ้าง พร้อมผลประโยชน์ตอบแทน
6. กรณีชราภาพ บำนาญชราภาพ • อายุ 55 ปี และสิ้นสภาพผู้ประกันตน • จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 180 เดือนขึ้นไป • ได้รับเงินรายเดือนตลอดชีวิต สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ • จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน ได้รับบำนาญ • ร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย
6. กรณีชราภาพ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ • จ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือนขึ้นไป ปรับเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลาจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน
7. กรณีว่างงาน • สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ • กรณีลาออก ได้รับเงินทดแทนขาดรายได้ขณะว่างงาน = 30% ของค่าจ้างไม่เกิน 90 วัน • กรณีเลิกจ้าง ได้รับเงินทดแทนขาดรายได้ขณะว่างงาน = 50% ของค่าจ้างไม่เกิน 180 วัน • บริการจัดหางาน • พัฒนาฝีมือแรงงาน
7. กรณีว่างงาน • เงื่อนไขการเกิดสิทธิ • จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือนภายใน 15 เดือนก่อนการว่างงาน • ไม่ใช่ผู้มีสิทธิรับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ • มีระยะเวลาว่างงานตั้งแต่ 8 วันขึ้นไป • ต้องขึ้นทะเบียนที่สำนักงานจัดหางาน( ภายใน 30 วันจะได้รับสิทธิครบถ้วน )
7. กรณีว่างงาน • เงื่อนไขการเกิดสิทธิ • มีความสามารถพร้อมที่จะทำงานที่เหมาะสมที่รัฐจัดให้ • ไม่ปฏิเสธการฝึกงาน • รายงานตัวที่สำนักจัดหางาน เดือนละครั้งตามนัด • ไม่ถูกเลิกจ้างเนื่องจากกระทำผิดต่อนายจ้าง
สิ่งที่ผู้ประกันตนควรทราบสิ่งที่ผู้ประกันตนควรทราบ • ผปต. ต้องยืนเรื่องขอรับประโยชน์ทดแทนภายใน 1 ปี นับแต่วันเกิดสิทธิและรับเงินภายใน 2 ปี นับแต่วันที่รับแจ้งให้รับเงิน • เฉพาะกรณีว่างงานต้องขึ้นทะเบียนหางานที่สำนักงานจัดหางานภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ว่างงานจะได้รับสิทธิครบถ้วน
สิ่งที่ผู้ประกันตนควรทราบสิ่งที่ผู้ประกันตนควรทราบ • สิทธิของผปต.ภายหลังออกจากงานจะได้รับสิทธิกรณี เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย ต่อไปอีก 6 เดือน • ผปต. จะไม่ได้รับสิทธิหากเป็นการจงใจก่อให้เกิดหรือยินยอมให้บุคคลอื่นก่อให้เกิดขึ้น • ผปต. ที่ออกจากงาน และได้ส่งเงินสมทบมาครบ 12 เดือนสามารถสมัครประกันตนเองได้โดยสมัครใจ (ผปต.มาตรา 39 ) ภายในระยะเวลา 6 เดือนนับแต่ออกงาน
สิทธิประโยชน์ที่กำลังจะแก้ไขสิทธิประโยชน์ที่กำลังจะแก้ไข กองทุนประกันสังคม • คนทำงานบ้านให้ได้รับการคุ้มครอง • กรณีชราภาพขยายเวลายื่นขอรับสิทธิจาก 1 ปี เป็น 5 ปี • กรณีว่างงาน ผปต.ที่อายุ 55 ปีแล้วไม่ต้องส่งเงินสมทบ • ผปต. ม.39 ส่งเงินเพียงส่วนเดียว • เพิ่มสิทธิประโยชน์กรณีตาย จาก 30,000 บาทเป็น 40,000 บาท
สิทธิประโยชน์ที่กำลังจะแก้ไขสิทธิประโยชน์ที่กำลังจะแก้ไข กองทุนประกันสังคม • เงินบำนาญชราภาพจาก 15% + 1% เป็น 20% + 1.5% • เพิ่มเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ทุพพลภาพจาก 2,000 บาท เป็น 3,000 บาท
สิทธิประโยชน์ที่กำลังจะแก้ไขสิทธิประโยชน์ที่กำลังจะแก้ไข กองทุนเงินทดแทน • กรณีทุพพลภาพให้ได้รับเงินทดแทนจาก 15 ปี เป็นตลอดชีวิต • แก้ไขค่าทดแทนกรณีหยุดงาน 18(1) ให้ได้รับตั้งแต่วันแรกของการหยุดงาน • แก้ไข ค่าทำศพ 100เท่าของค่าจ้างขั้นต่ำเป็น 30,000 บาท ขยายเงินทดแทนกรณีตาย จาก 8 ปี เป็น 12 ปี
ขอขอบคุณ จาก สปส. ปทุมธานี กลุ่มงานให้บริการ โทร 02-9596324