1 / 19

โดย ภญ. นฤภา วงศ์ปิยะรัตนกุล เภสัชกรชำนาญการพิเศษ กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง

กรอบการเจรจาความตกลง ด้านมาตรฐานและการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน ด้านเครื่องสำอาง ( ASEAN Consultative for Standards and Quality-ACCSQ -Cosmetics ). โดย ภญ. นฤภา วงศ์ปิยะรัตนกุล เภสัชกรชำนาญการพิเศษ กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง.

blue
Download Presentation

โดย ภญ. นฤภา วงศ์ปิยะรัตนกุล เภสัชกรชำนาญการพิเศษ กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐานและการตรวจสอบและรับรองภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียนกรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐานและการตรวจสอบและรับรองภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน ด้านเครื่องสำอาง (ASEAN Consultative for Standards and Quality-ACCSQ -Cosmetics) โดย ภญ. นฤภา วงศ์ปิยะรัตนกุล เภสัชกรชำนาญการพิเศษ กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง

  2. คณะทำงานพิจารณาผลิตภัณฑ์ด้านเครื่องสำอางคณะทำงานพิจารณาผลิตภัณฑ์ด้านเครื่องสำอาง 1. ชื่อ: คณะกรรมการเครื่องสำอางอาเซียน ASEAN Cosmetic Committee (ACC) - และมีคณะทำงานวิชาการเครื่องสำอางอาเซียน (ASEAN Cosmetic Scientific Body-ACSB)เพื่อสนับสนุนข้อมูล ให้กับ ACC พิจารณาให้ความเห็นชอบ

  3. ASEAN Cosmetic Committee(ACC) • ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิก ประเทศ ละ 1 คน (อาจมีผู้ร่วมสังเกตการณ์ได้) • มีผู้แทนจากภาคเอกชนเข้าร่วมให้ข้อมูลต่อที่ ประชุมเพื่อประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง

  4. ASEAN Cosmetic Scientific Body(ACSB) • ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิก ประเทศละ 3 คน (มาจาก เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้ประกอบธุรกิจ และนักวิชาการ) • ทบทวนเกี่ยวกับความปลอดภัยของเครื่องสำอาง(ingredients, technical and safety issues)

  5. คณะทำงานพิจารณาผลิตภัณฑ์ด้านเครื่องสำอางคณะทำงานพิจารณาผลิตภัณฑ์ด้านเครื่องสำอาง 2. หน่วยงานผู้แทน กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง สำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ผู้แทน นายพงศ์ประพันธ์ สุสัณฐิตพงษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง หมายเลขโทรศัพท์ ผู้ประสานงาน 02 590 7277 • หมายเลขโทรสาร 02 591 8468 • ที่อยู่ทางอิเล็กทรอนิกส์ cosmetic@fda.moph.go.th

  6. (1) ขอบเขตของการเจรจา • ให้มีความร่วมมือปรับปรุงกฎระเบียบทางเทคนิคด้านการจด แจ้งเครื่องสำอาง ให้สอดคล้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน มี ประสิทธิภาพและเทียบเท่าระดับสากล • ให้สอดคล้องกับกรอบความตกลง Agreement on ASEAN Harmonized Cosmetic Regulatory Scheme (AHCRS)เมื่อวันที่ 2กันยายน 2546 ในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (AEM- ASEAN Economic Ministers)ครั้งที่ 35ณ กรุง พนมเปญ ประเทศกัมพูชา

  7. (1) ขอบเขตของการเจรจา • ให้มีระยะเวลาในการปรับตัวที่เหมาะสม สำหรับภาครัฐและ • ภาคเอกชน(Grace periodตั้งแต่ มกราคม 2008 –มกราคม2011) • ให้มีความร่วมมือปรับปรุงกฎระเบียบทางเทคนิคให้ได้มาตรฐาน • มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงสุขภาพอนามัยของประชาชน • และประโยชน์ของประเทศ

  8. (1) ขอบเขตของการเจรจา • จากเดิมที่แต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน มีกฎระเบียบต่างกัน เป็นการปรับจากการขึ้นทะเบียน (Registration) เครื่องสำอางในบางประเทศ มาเป็นการจดแจ้ง (Notification) • ปรับลดการกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาดมาเป็นการกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาด โดยปฏิบัติตามบทบัญญัติเครื่องสำอางอาเซียน(ASEAN Cosmetic Directive )

  9. (1) ขอบเขตของการเจรจา • มีผลให้เครื่องสำอางทุกชนิดต้องมาจดแจ้งกับภาครัฐ โดยมีผลบังคับใช้ทันทีตั้งแต่ ปี 2551(2008) กับเครื่องสำอางใหม่ ส่วนเครื่องสำอางเดิมที่เคยวางตลาดแล้ว ให้ระยะเวลาผ่อนผันให้มาจดแจ้งได้ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ทุกประเทศในอาเซียนดำเนินการแล้ว • - ยกเว้นประเทศอินโดนีเซีย โดยอินโดนีเซียจะเริ่มจดแจ้งเครื่องสำอางที่มีความเสี่ยงต่ำก่อนภายใน 31 มกราคม 2554 (2011) • - ระยะเวลาดำเนินการ แล้วเสร็จใน 3 วันทำการ

  10. (2) วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการเจรจา วัตถุประสงค์ • เพื่อขจัดข้อกีดกันทางการค้าเครื่องสำอาง อันเกิดจาก ข้อกำหนดด้านเทคนิคซึ่งกำหนดโดยภาครัฐ โดยจะหลีกเลี่ยงไม่ให้ส่งผลกระทบทางลบต่อคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของเครื่องสำอาง

  11. (2) วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการเจรจา เป้าหมาย • เพื่อประสานกฎระเบียบของการจดแจ้งเครื่องสำอาง ให้สอดคล้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางมีคุณภาพ มาตรฐานและปลอดภัยต่อผู้บริโภค • คำนึงถึงระยะเวลาในการปรับตัว โอกาสในการพัฒนาของผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และหลักการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน

  12. (2) วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการเจรจา • คำนึงถึงระยะเวลาการปรับปรุงและความพร้อมของกฎหมายภายในและหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง

  13. (3) อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า • จัดตั้งกลไกการหารือ รวมทั้งระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบการติดต่อระหว่างกัน เพื่อให้สามารถจัดการกับปัญหาและอุปสรรที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรการกีดกันทางเทคนิคได้อย่างมีประสิทธิภาพ • หาแนวทางลดอุปสรรคทางการค้าที่เกิดจากกฎระเบียบทางเทคนิค หรือมาตรฐานของประเทศสมาชิกอาเซียนเท่าที่จะเป็นไปได้

  14. (4) ความร่วมมือและการอำนวยความสะดวกทางการค้า • ให้มีความร่วมมือเพื่อเพิ่มการอำนวยความสะดวกทางการค้าระหว่างอาเซียน • ให้มีความร่วมมือทางวิชาการ และการเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการ โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม

  15. โครงสร้างพื้นฐานที่ได้ปรับปรุงเพื่อรองรับการเข้าสู่ ASEAN Cosmetic Directive • 1. ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเครื่องสำอาง มีการรับฟังความ • คิดเห็นภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายการสารที่ใช้ใน • เครื่องสำอาง • 2. พัฒนาบุคลากร อบรม สัมมนาให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องทั้งใน • ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง

  16. โครงสร้างพื้นฐานที่ได้ปรับปรุงเพื่อรองรับการเข้าสู่ ASEAN Cosmetic Directive • 3. พัฒนาระบบการจดแจ้ง สำหรับการยื่นด้วยตนเองณ one • stop services( OSSC ) ที่ อย. หรือ สสจ. ในพื้นที่ที่มีการผลิต รวมถึงการยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต • - ค่าธรรมเนียมการผลิต/ราย/ปี 1,000 บาท • - ค่าธรรมเนียมการนำเข้า/ราย/ปี 2,000 บาท

  17. โครงสร้างพื้นฐานที่ได้ปรับปรุงเพื่อรองรับการเข้าสู่ ASEAN Cosmetic Directive 4. พัฒนาผู้ประกอบการเกี่ยวกับหลักเกณฑ์กรรมวิธีที่ดีในการผลิต GMPและข้อมูลผลิตภัณฑ์Product Information File (PIF) 5. พัฒนาระบบเฝ้าระวังเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัยต่อการใช้ ASEAN Alert systemโดยสิงคโปร์ เป็นfocal pointของอาเซียน อย. เป็น focal pointของไทย เมื่อมีการแจ้งเตือนมายังประเทศไทย อย. จะประสานกองงานด่านอาหารและยาและกลุ่มควบคุมเครื่องสำอางในการเฝ้าระวัง เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค

  18. โครงสร้างพื้นฐานที่ได้ปรับปรุงเพื่อรองรับการเข้าสู่ ASEAN Cosmetic Directive 6. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กองทุน FTAและกรมเจรจาการค้า เพื่อช่วยเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบให้ปรับตัวได้ทัน โดยการพัฒนาผู้ประกอบการ เช่น การอบรม GMP , PIFและ การจดแจ้งเครื่องสำอาง

  19. การประสานงานติดต่อ กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง สำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ นนทบุรี 11000 โทร 02 590 7277 และ 02 590 7441 โทรสาร 02 591 8468 email: cosmetic@fda.moph.go.th หรือ www.fda.moph.go.thเลือก เครื่องสำอาง

More Related