170 likes | 355 Views
ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย. วิธีแก้การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของมนุษย์ ใช้ศาสนา ใช้อำนาจรัฐ. จริยศาสตร์ (Ethics) ศาสตร์ที่เกี่ยวกับความประพฤติ (Behavior) ของคน คำถาม “ความดีคืออะไร”. Man is the social animals. Man is the thinking animal. ทำความดี : คนดี ทำดี : ได้ดี
E N D
ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย
วิธีแก้การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของมนุษย์วิธีแก้การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของมนุษย์ • ใช้ศาสนา • ใช้อำนาจรัฐ
จริยศาสตร์ (Ethics) ศาสตร์ที่เกี่ยวกับความประพฤติ (Behavior) ของคน คำถาม “ความดีคืออะไร”
Man is the social animals. Man is the thinking animal.
ทำความดี : คนดี ทำดี : ได้ดี ทำดีเพราะเป็นความดี
วินัยกับจริยธรรมมีความเกี่ยวข้องกันและเกี่ยวกับความประพฤติ (Behavior) วินัยข้าราชการ บัญญัติเป็นกฎหมาย DO Do Don’t Don’t ความประพฤติที่สมควร ความประพฤติที่ไม่สมควร
จริยธรรม หมายถึง หลักแห่งความประพฤติที่แสดงออกถึงความดีงาม - กาย - วาจา - ใจ
คุณธรรม หมายถึง ข้อปฏิบัติที่ปฏิบัติแล้วเป็นคุณเป็นประโยชน์
“มีวินัย” เสริมสร้าง ดำเนินการทางวินัย ป้องกัน ความโลภ โอกาส
ความหมายของ “วินัย” • มองแง่ถ้อยคำ • “วิ” = “ดี” หรือ “ต่าง” • “นัย” = “ทาง” (คำนาม) “นำไป” (กริยา) • วินัย = เครื่องนำไปในทางที่ดี • = เครื่องนำไปให้มีความแตกต่าง
2. มองในแง่รูปลักษณ์ มี 2 ลักษณะ 1) สร้างปทัสถาน (Norm) 2) สร้างพฤติกรรม (Behavior)
3. มองในแง่บทบาท (พ.อ.ปิ่น มุทุกันต์) วินัย = แบบของคน 4. มองในแง่ลักษณะ (Lcon C.Megginson) 1. การควบคุมตนเอง (Self-control) 2. เงื่อนไขความประพฤติ (พฤติกรรม) อันเป็นระเบียบเรียบร้อย (condition for orderly behavior)
3. กระบวนการทางนิติธรรม (judical due process) 5. มองแง่การใช้บังคับ (1) ผิดวินัย - ไม่ผิดวินัย (2) มีวินัย - ไม่มีวินัย
เกณฑ์ตัดสิน “ความดี” (ลัทธิปฏิบัตินิยม) 1. เป็นประโยชน์ต่อตนเอง 2. เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น 3. บัณฑิตยอมรับ